ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โรคคิดว่าตนเองมีรูปร่างหรืออวัยวะผิดปกติ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tzmeteora (คุย | ส่วนร่วม)
added link to: bigorexia (thai)
Tzmeteora (คุย | ส่วนร่วม)
link to bigorexia changed
บรรทัด 9: บรรทัด 9:
== รูปแบบต่าง ๆ ของโรค ==
== รูปแบบต่าง ๆ ของโรค ==
โรคนี้จะเกิดขึ้นทั้งในผู้ชายและผู้หญิง โดยสามารถแบ่งออกเป็นสามประเภทหลัก ๆ คือ
โรคนี้จะเกิดขึ้นทั้งในผู้ชายและผู้หญิง โดยสามารถแบ่งออกเป็นสามประเภทหลัก ๆ คือ
* [[ไบกอร์เร็กเซีย|โรคไบกอร์เร็กเซียหรือโรคที่คิดว่าตนเองตัวเล็กเกินไป]] (มักจะเกิดในผู้ชาย)
* [[ไบกอร์เร็กเซีย (โรค)|โรคไบกอร์เร็กเซียหรือโรคที่คิดว่าตนเองตัวเล็กเกินไป]] (มักจะเกิดในผู้ชาย)
* โรคโบลิเมียหรืออนอร์เร็กเซีย คือโรคที่คิดว่าตนเองอ้วนเกินไป (มักจะเกิดในผู้หญิง)
* โรคโบลิเมียหรืออนอร์เร็กเซีย คือโรคที่คิดว่าตนเองอ้วนเกินไป (มักจะเกิดในผู้หญิง)
* โรคที่คิดว่าตนเองมีหน้าตาที่หน้าเกลียดหรืออวัยวะในร่างกายที่น่าเกลียด
* โรคที่คิดว่าตนเองมีหน้าตาที่หน้าเกลียดหรืออวัยวะในร่างกายที่น่าเกลียด

รุ่นแก้ไขเมื่อ 19:59, 4 เมษายน 2549

ดิสมอร์เฟีย (หรือโรคไม่พึงพอใจในรูปร่างของตน นิยมเรียกย่อ ๆ ว่าโรค BDD) เป็นโรคจิตชนิดหนึ่งทีี่เกิดจากความไม่พอใจในรูปร่างของตนเอง โรคดิสมอร์เฟียจากการตรวจสอบพบกว่าโรคนี้มักจะพบในกลุ่มบุคคลที่สนใจในรูปร่างของตนเองมาก กลุ่มคนที่เข้างานสังคมบ่อย ๆ หรือกลุ่มคนที่เป็นที่สนใจจากคนอื่น ๆ และสังคม บุคคลที่อยู่ในกลุ่มความเสี่ยงนี้ได้แก่ ดารา นางแบบ ศิลปินดนตรี วัยรุ่น นักเรียนมัธยม และนักศึกษามหาวิทยาลัย หรือใคร ๆ ก็ตามที่ต้องทำงานหน้ากล้อง

ปัจจัยในการตรวจสอบ (Diagnostic Criteria)

วิธีในการตรวจสอบว่าโรคนี้จากสมาคมนักจิตวิทยาอเมริกัน (the American Psychiatric Association) ได้แยกปัจจัยการตรวจสอบค้นหาโรคดิสมอร์เฟียนี้ออกเป็นสามปัจจัยด้วยกันคือ

  1. การมีความหมกมุ่นเกี่ยวกับความเปลี่ยนแปลงในรูปร่างของตน หากพบความเปลี่ยนแปลงเพียงเล็กน้อย บุคคลคนนี้จะมีความวิตกกังวลอย่างมาก
  2. ความหมกมุ่นทำให้เกิดความโศกเศร้า ความทุกข์ ความเครียด และทำให้ความสามารถทั้งทางครอบครัว การงาน สังคม ฯลฯ ลดน้อยลง
  3. ความหมกมุ่นนี้ไม่ได้เกิดจากการมีปัญหาทางด้านจิตใจอื่น ๆ (คือไม่ได้เป็นโรคจิตอื่นอยู่แล้วหรือมีความผิดปกติทางสมองหรือจิตใจ)

รูปแบบต่าง ๆ ของโรค

โรคนี้จะเกิดขึ้นทั้งในผู้ชายและผู้หญิง โดยสามารถแบ่งออกเป็นสามประเภทหลัก ๆ คือ