ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สารสื่อประสาท"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
VolkovBot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: el:Νευροδιαβιβαστής
Thijs!bot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต แก้ไข: cs:Neurotransmiter
บรรทัด 20: บรรทัด 20:
[[bn:নিউরোট্রান্সমিটার]]
[[bn:নিউরোট্রান্সমিটার]]
[[ca:Neurotransmissor]]
[[ca:Neurotransmissor]]
[[cs:Neurotransmitér]]
[[cs:Neurotransmiter]]
[[da:Neurotransmitter]]
[[da:Neurotransmitter]]
[[de:Neurotransmitter]]
[[de:Neurotransmitter]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 21:23, 19 สิงหาคม 2551

สารสื่อประสาท (neurotransmitter) คือ สารเคมีที่มีหน้าที่ในการนำ, ขยาย และควบคุมสัญญาณไฟฟ้าจากนิวรอนไปยังเซลล์อีกตัวหนึ่ง ตามระบอบความเชื่อ (dogma) ที่ตั้งขึ้นในทศวรรษที่ 1960 โดยที่สารเคมีนั้นจะเป็นสารสื่อประสาทได้จะต้องเป็นจริงตามเงื่อนไขดังนี้

  1. สารนั้นต้องสารภายในเซลล์ อันเป็นเซลล์ที่เรียกว่า เซลล์ประสาทก่อนไซแนปส์ (presynaptic neuron)
  2. สารที่พบใน presynaptic neuron จะต้องมีปริมาณเพียงพอที่เมื่อหลั่งออกมาแล้วสามารถทำให้เกิดผลที่ เซลล์ประสาทหลังไซแนปส์ (postsynaptic neuron) ได้
  3. ถ้าหากนำสารนี้ใส่ไปบริเวณ postsynaptic neuron (หมายถึง สารนั้นไม่ได้มาจาก presynaptic neuron แต่นำสารสกัดหรือสังเคราะห์ใส่ไปในการทดลอง) จะทำให้เกิดผลเหมือนกับผลที่ได้จากการหลั่งสารจาก presynaptic neuron
  4. จะต้องมีกลไกทางชีวเคมีที่ใช้ในการหยุดการทำงานของสารสื่อประสาทเกิดขึ้น

อย่างไรก็ตาม บางคนถือว่าสสารบางชนิด เช่น ไอออนของสังกะสี ซึ่งไม่ได้สังเคราะห์หรือเกิดขึ้นโดยปฏิกิริยาคะตาบอลิซึ่ม เป็นสารสื่อประสาท ดังนั้น จำเป็นต้องมีคำนิยามใหม่ ๆ เกี่ยวกับสารสื่อประสาท เพื่อใช้อธิบายสารใหม่ ๆ ที่พบว่ามีหน้าที่เป็นหรือคล้ายสารสื่อประสาท

ดูเพิ่ม