ผลต่างระหว่างรุ่นของ "นอร์ธรอป เอฟ-5"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด +แจ้งรอตรวจสอบด้วยบอต
Skyman (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2: บรรทัด 2:
[[ภาพ:F-5 flying.jpg|thumb|250px|เอฟ-5อี ไทเกอร์ทูว์]]
[[ภาพ:F-5 flying.jpg|thumb|250px|เอฟ-5อี ไทเกอร์ทูว์]]


'''เอฟ-5 ฟรีดอมไฟเตอร์''' (F-5 Freedom Fighter) เป็น[[เครื่องบินขับไล่]]ของสหรัฐอเมริกา เริ่มออกแบบเมื่อปี [[พ.ศ. 2505]] (ค.ศ. 1962) โดยบริษัท[[นอร์ธรอป]]
'''เอฟ-5เอ/บี ฟรีดอมไฟเตอร์''' (F-5 Freedom Fighter) และ '''เอฟ-5อี/เอฟ ไทเกอร์ ทู''' เป็น[[เครื่องบินขับไล่]]ของสหรัฐอเมริกา เริ่มออกแบบเมื่อปี [[พ.ศ. 2505]] (ค.ศ. 1962) โดยบริษัท[[นอร์ธรอป]]




==ประวัติ==
==ประวัติ==
F-5 ถือกำเนิดจากโครงการของบริษัท[[นอร์ทธรอป]]ที่ทำวิจัยและพัฒนาเครื่องบินขับไล่ที่มีขนาดเล็กแต่มีประสิทธิภาพสูงภายใต้โครงการ N-156F แม้ว่า[[กองทัพอากาศสหรัฐ]]จะไม่ได้ให้ความสนใจในเครื่องบินขับไล่ขนาดเล็ก แต่เจ้าหน้าที่ในโครงการช่วยเหลือทางทหารของประธานาธิปดี [[จอห์น เอฟ เคนเนดี]] เห็นถึงศักยภาพที่เครื่องบินในโครงการ N-156F ที่จะสามารถเปิดโอกาสให้ประเทศกำลังพัฒนาที่พันธมิตรของสหรัฐได้จัดหาเครื่องบินขับไล่ประสิทธิภาพสูงที่มีราคาไม่แพง รัฐบาลสหรัฐจึงได้เลือกเครื่องบินในโครงการ N-156F มาพัฒนาจนกลายเป็น F-5A Freedom Fighter ซึ่งถือเป็น F-5 รุ่นแรกของโลก และส่งมอบหรือขายให้กับพันธมิตรชาติต่าง ๆ ทั่วโลก
ในช่วงปลาย[[สงครามเวียดนาม]] [[กองทัพอากาศสหรัฐอเมริกา]]ได้พบว่าเครื่องบินขับไล่ทางยุทธศาสตร์ขนาดใหญ่แบบ[[เอฟ-111]] ได้กลายเป็นเป้าซ้อมปืนและจรวดให้กับนักบิน[[มิก-21]] อย่างมันมือ ด้วยความใหญ่และหนักของ[[เอฟ-111]] ไม่อาจสร้างความได้เปรียบในการรบแบบติดพัน (Dog Fight) ได้ ดังนั้น[[เอฟ-111]] จึงถูกเปลี่ยนภารกิจให้เป็นเครื่องบินทิ้งระเบิดขนาดเบาและออกปฏิบัติการภายใต้การคุ้มกันของเครื่องบินขับไล่แบบ[[เอฟ-4]] ซึ่งเป็นเครื่องบินขับไล่ขนาด 2 ที่นั่ง ซึ่งว่าไปแล้วก็ยังมีขนาดใหญ่อยู่ดี และจะต้องใช้ถึงสองเครื่องในการไล่ต้อน[[มิก-21]] ที่แสนจะปราดเปรียว ซึ่งในการดวลกันตัวต่อตัวระหว่าง[[เอฟ-4]] กับ[[มิก-21]] นั้น ส่วนใหญ่[[มิก-21]] จะบินหลบหนีไปได้


ต่อมาในช่วงปี 1970 บริษัท[[นอร์ทธรอป]]ได้รับชัยชนะในโครงการเครื่องบินขับไล่นานาชาติรุ่นปรับปรุง (Improved International Fighter Aircraft) เพื่อทดแทน F-5A โดย[[กองทัพอากาศสหรัฐ]]กำหนดชื่อรุ่นเป็น F-5E Tiger II สำหรับรุ่นที่นั่งเดี่ยว และ F-5F Tiger II สำหรับรุ่นสองที่นั่ง โดยมีการปรับปรุงที่สำคัญคือ เพิ่มอุปกรณ์อิเล็กทรอนิคทางการบินที่ทันสมัย ติดตั้ง[[เรด้าร์]]แบบ AN/APQ-153 ซึ่งมีระยะตรวจจับราว 25 กิโลเมตร (ในรุ่น A และ B ไม่ได้รับการติดตั้ง[[เรด้าร์]]) ส่วน F-5F ก็ได้รับการติดตั้ง[[ปืนกล]]แบบ M39 ภายในลำตัว (ในรุ่น B ไม่ได้รับการติดตั้งปืนกล) นอกจากนั้นยังได้พัฒนา RF-5E ที่ติดกล้องถ่ายภาพเพื่อใช้ในภารกิจตรวจการณ์อีกด้วย
ความต้องการเครื่องบินขับไล่ขนาดเบาเพื่อต่อกรกับ[[มิก-21]] อย่างสูสี ทำให้เอฟ-5 เอของบริษัท[[นอร์ธรอป]]ซึ่งแต่เดิมถูกจัดวางไว้ในฐานะเครื่องบินลาดตระเวนโจมตีเบาและตรวจการณ์ถ่ายภาพทางอากาศเช่นเดียวกับเครื่อง[[เอ-4]] ถูกจับตามองด้วยความสนใจ เพราะเอฟ-5 เป็นเครื่องบินเบาที่มีท่วงท่าการบินและความปราดเปรียวคล่องตัวที่ใกล้เคียงกับ[[มิก-21]] มากที่สุด ดังนั้นบริษัท[[นอร์ธรอป]]จึงได้รับสั่งให้อัพเกรดเครื่องเอฟ-5 เป็นเครื่องบินขับไล่เบา


F-5 ถือเป็นหนึ่งในเครื่องบินขับไล่ที่ประสบความสำเร็จมากที่สุดของประเทศค่ายประชาธิปไตย โดยมีผู้ใช้งานเกือบ 20 ประเทศ และมียอดการผลิตสูงกว่า 2 พันลำ ในปัจจุบันยังมีกองทัพอากาศหลายชาติที่ยังประจำการด้วย F-5 อยู่ หลายชาติเลือกที่จะทำการปรับปรุงเครื่องบินของตนที่ยังบินได้เพื่อที่จะยืดอายุการใช้งานออกไปให้นานที่สุด เช่น[[กองทัพอากาศบราซิล]]และ[[กองทัพอากาศชิลี]]ได้ว่าจ้างบริษัท[[อิลบิท]]ของ[[อิสราเอล]]ให้ทำการปรับปรุง F-5E/F ของตนเป็น F-5EM และ F-5E/F Tiger III ตามลำดับ ซึ่งมีความสามารถในการติดตั้งจรวดนำวิถีจากอิสราเอลทั้ง[[ดาร์บี้]]และ[[ไพธอน-4]] [[กองทัพอากาศสิงคโปร์]]ก็ได้ปรับปรุง F-5E/F ของตนโดยเปลี่ยน[[เรด้าร์]] ระบบอิเล็กทรอนิคต่าง ๆ และเพิ่มความแข็งแรงให้กับปีก โดยกำหนดชื่อเป็น F-5S/T ซึ่งมีความสามารถในการใช้จรวดแบบ [[ไพธอน-4]] และ [[AIM-120 แอมแรม]] ได้ สำหรับ[[กองทัพอากาศไทย]]ได้ดำเนินการว่าจ้างบริษัท[[อิลบิท]]ให้ทำการปรับปรุง F-5E/F ในฝูงบิน 211 อุบล ให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้น สามารถติดตั้งจรวด[[ไพธอน-4]]ได้ โดยกองทัพอากาศไทยกำหนดชื่อเรียกว่า F-5T Tigres
เครื่องเอฟ-5 ได้รับการปรับปรุงโดยการขยายโครงสร้างให้ใหญ่และยาวขึ้นกว่าเดิมประมาณ 15 เปอร์เซ็นต์ ใช้เครื่องยนต์ของ[[เยเนอรัล อิเลคทริค]]รุ่นใหม่ที่มีแรงขับดันสูงขึ้น ติดเรดาห์ที่มีขีดความสามารถจับเป้าหมายได้อย่างแม่นยำในระยะ 15 ไมล์ สามารถยิงจรวดอากาศสู่อากาศนำวิถีด้วยอินฟราเรดแบบ[[เอไอเอ็ม-9]] และเรียกเอฟ-5 รุ่นนี้ว่า'''เอฟ-5 อี ไทเกอร์ทูว์'''

เอฟ-5 อี ถูกส่งเข้าประจำการใน[[เวียดนามใต้]]เพียงไม่กี่ร้อยเครื่องและยังไม่ทันได้ประมือกับ[[มิก-21]] [[สหรัฐอเมริกา]]ก็ยอมถอนตัวออกจาก[[สงครามเวียดนาม]]พร้อมกับทิ้งเอฟ-5 อี จำนวน 350 เครื่องไว้ใน[[เวียดนาม]] ปัจจุบันรัฐบาลเวียดนามได้เก็บรักษาเอฟ-5 อี ไว้ใน[[อนุสรณ์สถานสงครามเวียดนาม]]เพียงไม่กี่เครื่องและทิ้งส่วนที่เหลือให้ชำรุดผุพังไปตามกาลเวลา เนื่องจากไม่มีการซ่อมบำรุงและอะไหล่สนับสนุน

[[สหรัฐอเมริกา]]เองก็ยังคงใช้งานเอฟ-5 อี มาจนถึงปัจจุบัน โดยใช้ในสามภาระกิจคือ เป็นเครื่องบินข้าศึกสมมุติในการฝึกหลักสูตร[[ท็อปกัน]] (TOP GUN) เพราะเอฟ-5 อี มีลักษณะการบินที่ใกล้เคียงกับเครื่องบินขับไล่มิกของ[[รัสเซีย]]มาก ใช้เป็นเครื่องบินสังเกตการณ์การบินของอากาศยานทดลองและใช้ฝึกนักบิน โดยใช้[[ที-38]] แต่ปัจจุบันเปลี่ยนเป็น[[ที-45]] ของอังกฤษแล้ว [[กองทัพอากาศไทย]]ก็ได้ทำการปรับปรุงเอฟ-5 อี ในประจำการให้มีขีดความสามารถในการรบเพิ่มขึ้น โดยการเปลี่ยนเรดาห์ให้สามารถจับเป้าข้าศึกได้ในระยะ 25 ไมล์ เพิ่มจอ[[ฮัด]] (HUD) ติดระบบนำร่องแบบ[[ทาแคน]]ซึ่งเอฟ-5 อีของ[[กองทัพอากาศไทย]]เมื่อปรับปรุงแล้ว จึงมีขีดความสามารถในการยิงจรวดนำวิถีแบบ[[ไพธอน|ไพธอน 4]] เพิ่มขึ้นจากเดิมที่ยิง[[เอไอเอ็ม-9]] ได้แบบเดียวเท่านั้น

เครื่องบินขับไล่เบาที่เป็นอมตะที่สุดในโลกนี้ (ยังคงประจำการในกองทัพของประเทศผู้ผลิตจนถึงปัจจุบัน) นอกจาก[[มิก-21]] แล้ว มีเพียงเอฟ-5 อีคู่ปรับที่ไม่เคยเจอกันเลยตลอดกาล


==รุ่นของเอฟ-5==
==รุ่นของเอฟ-5==
* '''F-5A'''
* '''F-5A Freedom Fighter'''
เครื่องบินขับไล่ที่นั่งเดี่ยว
* '''F-5B'''
* '''F-5B Freedom Fighter'''
เครื่องบินขับไล่สองที่นั่ง
* '''F-5C Skoshi Tiger'''
* '''F-5C Skoshi Tiger'''
เป็นรุ่นที่ได้รับการปรับปรุงในบางจุด เช่น การติดตั้งท่อรับการเติมเชื้อเพลิงกลางอากาศ
* '''F-5D'''
* '''F-5D'''
เครื่องบินขับไล่รุ่นสองที่นั่งซึ่งไม่ได้รับการผลิตจริง
* '''F-5E Tiger II'''
* '''F-5E Tiger II'''
เครื่องบินขับไล่ที่นั่งเดี่ยวรุ่นปรับปรุง
* '''F-5F Tiger II'''
* '''F-5F Tiger II'''
เครื่องบินขับไล่ที่สองที่นั่งรุ่นปรับปรุง
* '''F-5G''' ต่อมาคือ[[เอฟ-20]]
* '''F-5G'''
เปลี่ยนเครื่องยนต์จากสองเครื่องยนต์เป็นเครื่องยนต์เดียว ต่อมาคือ[[เอฟ-20]]
* '''F-5N'''
* '''F-5N'''
รุ่นฝึกของกองทัพเรือสหรัฐ
* '''F-5S'''
* '''F-5S'''
เครื่องบินขับไล่ที่นั่งเดียวที่ได้รับการปรับปรุงโดย[[กองทัพอากาศสิงคโปร์]]
* '''F-5T'''
* '''F-5T'''
เครื่องบินขับไล่สองที่นั่งได้รับการปรับปรุงโดย[[กองทัพอากาศสิงคโปร์]]
* '''F-5T Tigres'''
เครื่องบินขับไล่ที่นั่งเดียวและสองที่นั่งที่ได้รับการปรับปรุงโดย[[กองทัพอากาศไทย]]
* '''F-5EM'''
เครื่องบินขับไล่ที่นั่งเดียวที่ได้รับการปรับปรุงโดย[[กองทัพอากาศบราซิล]]
* '''F-5FM'''
เครื่องบินขับไล่สองที่นั่งที่ได้รับการปรับปรุงโดย[[กองทัพอากาศบราซิล]]
* '''F-5E Tiger III'''
เครื่องบินขับไล่ที่นั่งเดียวที่ได้รับการปรับปรุงโดย[[กองทัพอากาศชิลี]]
* '''F-5F Tiger III'''
เครื่องบินขับไล่สองที่นั่งที่ได้รับการปรับปรุงโดย[[กองทัพอากาศชิลี]]
* '''RF-5A'''
* '''RF-5A'''
เครื่องบินขับไล่ลาดตระเวนถ่ายภาพ
* '''RF-5A(G)'''
* '''RF-5E Tigereye'''
* '''RF-5E Tigereye'''
เครื่องบินขับไล่ลาดตระเวนถ่ายภาพ
* '''YF-5'''
* '''CF-5'''

[[ภาพ:F-5T.jpg|thumb|250px|F-5T Tigres ของกองทัพอากาศไทย ขณะกำลังเตรียมขึ้นบิน]]

==ประเทศที่มี F-5 ประจำการ==


;{{AUT}} : เช่าจากสวิสเซอร์แลนด์เพื่อเตรียมพร้อมสำหรับการรอรับเครื่องบินขับไล่ไต้ฝุ่น
;{{BHR}}
;{{BOT}}
;{{BRA}}
* [[กองทัพอากาศบราซิล]]
;{{CHI}}
* [[กองทัพอากาศชิลี]]
;{{ETH}}
;{{GRE}}
;{{HON}}
;{{IDN}}
* [[กองทัพอากาศอิโดนิเซีย]]: F-5E ทั้ง 16 ลำปลดประจำการในปี 2548 ปัจจุบันเป็นเครื่องบินสำรอง
;{{IRN}}
* [[กองทัพอากาศอิหร่าน]]: ได้รับมอบ F-5E/F จำนวน 140 ลำในสมัยพระเจ้าซาร์ ปัจจุบันปฏิบัติการได้ 60 - 70 ลำ
;{{JOR}}
;{{KEN}}
;{{LBA}}
;{{MAS}} : กำลังปลดประจำการ
;{{MEX}}
;{{MAR}}
;{{NLD}}
* [[กองทัพอากาศเนเธอแลนด์]]: ปลดประจำการ
;{{NOR}}
* [[กองทัพอากาศนอร์เวย์]]
;{{PAK}} : ยืมมาจากประเทศอื่นชั่วคราวในระหว่างสงครามกับอินเดีย
;{{PHL}}
* [[กองทัพอากาศฟิลิปปินส์]]: ปลดประจำการ F-5A/B
;{{KOR}}
* [[กองทัพอากาศเกาหลีใต้]]
;{{SAU}}
* [[กองทัพอากาศซาอุดิอารเบีย]]
;{{SIN}}
* [[กองทัพอากาศสิงคโปร์]]: ปรับปรุงเป็นรุ่น F-5S/T มีประจำการราว 35 ลำ
;{{ESP}}
* [[กองทัพอากาศสเปน]]
;{{SUI}}
* [[กองทัพอากาศสวิส]]: กำลังจัดหาเครื่องบินรุ่นใหม่มาทดแทน
;{{THA}}
* [[กองทัพอากาศไทย]]: F-5A/B/E จะถูกปลดประจำการในปี 2553 และทดแทนด้วย [[JAS 39 Gripen] F-5T Tigris ยังประจำการต่อไป.
;{{TUN}}
;{{TUR}}
* [[กองทัพอากาศตุรกี]]
;{{USA}}
* [[กองทัพอากาศสหรัฐ]]: เป็นเครื่องบินข้าศึกสมมุติ
* [[นาวิกโยธินสหรัฐ]]: เป็นเครื่องบินข้าศึกสมมุติ
* [[กองทัพเรือสหรัฐ]]: เป็นเครื่องบินข้าศึกสมมุติ
;{{VEN}}
;{{flag|South Vietnam}}
* [[กองทัพอากาศเวียดนามใต้]]
;{{VNM}}
* [[กองทัพอากาศเวียดนาม]]: เป็นเครื่องเก่าของ[[กองทัพอากาศเวียดนามใต้]]
;{{YEM}}


==เหตุการณ์ในประเทศไทย==
==เหตุการณ์ในประเทศไทย==
บรรทัด 68: บรรทัด 141:
**สามารถติดตั้งอาวุธที่ใต้ปีกได้ข้างละ 2 แห่ง และ ใต้ลำตัว 1 แห่ง รวมเป็นน้ำหนักสูงสุด 3,175 กิโลกรัม
**สามารถติดตั้งอาวุธที่ใต้ปีกได้ข้างละ 2 แห่ง และ ใต้ลำตัว 1 แห่ง รวมเป็นน้ำหนักสูงสุด 3,175 กิโลกรัม
<ref>อภิวัตน์ โควินทรานนท์,อากาศยาน1979ฉบับเครื่องบิน,เอวิเอชั่น ออบเซิร์ฟเวอร์,กรุงเทพ,2522</ref>
<ref>อภิวัตน์ โควินทรานนท์,อากาศยาน1979ฉบับเครื่องบิน,เอวิเอชั่น ออบเซิร์ฟเวอร์,กรุงเทพ,2522</ref>

== เพิ่มเติม ==

* [[เอฟ-5บี ลำแรกของโลก]]
* [[กองทัพอากาศไทย]]


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 22:10, 18 สิงหาคม 2551

ไฟล์:F-5 flying.jpg
เอฟ-5อี ไทเกอร์ทูว์

เอฟ-5เอ/บี ฟรีดอมไฟเตอร์ (F-5 Freedom Fighter) และ เอฟ-5อี/เอฟ ไทเกอร์ ทู เป็นเครื่องบินขับไล่ของสหรัฐอเมริกา เริ่มออกแบบเมื่อปี พ.ศ. 2505 (ค.ศ. 1962) โดยบริษัทนอร์ธรอป


ประวัติ

F-5 ถือกำเนิดจากโครงการของบริษัทนอร์ทธรอปที่ทำวิจัยและพัฒนาเครื่องบินขับไล่ที่มีขนาดเล็กแต่มีประสิทธิภาพสูงภายใต้โครงการ N-156F แม้ว่ากองทัพอากาศสหรัฐจะไม่ได้ให้ความสนใจในเครื่องบินขับไล่ขนาดเล็ก แต่เจ้าหน้าที่ในโครงการช่วยเหลือทางทหารของประธานาธิปดี จอห์น เอฟ เคนเนดี เห็นถึงศักยภาพที่เครื่องบินในโครงการ N-156F ที่จะสามารถเปิดโอกาสให้ประเทศกำลังพัฒนาที่พันธมิตรของสหรัฐได้จัดหาเครื่องบินขับไล่ประสิทธิภาพสูงที่มีราคาไม่แพง รัฐบาลสหรัฐจึงได้เลือกเครื่องบินในโครงการ N-156F มาพัฒนาจนกลายเป็น F-5A Freedom Fighter ซึ่งถือเป็น F-5 รุ่นแรกของโลก และส่งมอบหรือขายให้กับพันธมิตรชาติต่าง ๆ ทั่วโลก

ต่อมาในช่วงปี 1970 บริษัทนอร์ทธรอปได้รับชัยชนะในโครงการเครื่องบินขับไล่นานาชาติรุ่นปรับปรุง (Improved International Fighter Aircraft) เพื่อทดแทน F-5A โดยกองทัพอากาศสหรัฐกำหนดชื่อรุ่นเป็น F-5E Tiger II สำหรับรุ่นที่นั่งเดี่ยว และ F-5F Tiger II สำหรับรุ่นสองที่นั่ง โดยมีการปรับปรุงที่สำคัญคือ เพิ่มอุปกรณ์อิเล็กทรอนิคทางการบินที่ทันสมัย ติดตั้งเรด้าร์แบบ AN/APQ-153 ซึ่งมีระยะตรวจจับราว 25 กิโลเมตร (ในรุ่น A และ B ไม่ได้รับการติดตั้งเรด้าร์) ส่วน F-5F ก็ได้รับการติดตั้งปืนกลแบบ M39 ภายในลำตัว (ในรุ่น B ไม่ได้รับการติดตั้งปืนกล) นอกจากนั้นยังได้พัฒนา RF-5E ที่ติดกล้องถ่ายภาพเพื่อใช้ในภารกิจตรวจการณ์อีกด้วย

F-5 ถือเป็นหนึ่งในเครื่องบินขับไล่ที่ประสบความสำเร็จมากที่สุดของประเทศค่ายประชาธิปไตย โดยมีผู้ใช้งานเกือบ 20 ประเทศ และมียอดการผลิตสูงกว่า 2 พันลำ ในปัจจุบันยังมีกองทัพอากาศหลายชาติที่ยังประจำการด้วย F-5 อยู่ หลายชาติเลือกที่จะทำการปรับปรุงเครื่องบินของตนที่ยังบินได้เพื่อที่จะยืดอายุการใช้งานออกไปให้นานที่สุด เช่นกองทัพอากาศบราซิลและกองทัพอากาศชิลีได้ว่าจ้างบริษัทอิลบิทของอิสราเอลให้ทำการปรับปรุง F-5E/F ของตนเป็น F-5EM และ F-5E/F Tiger III ตามลำดับ ซึ่งมีความสามารถในการติดตั้งจรวดนำวิถีจากอิสราเอลทั้งดาร์บี้และไพธอน-4 กองทัพอากาศสิงคโปร์ก็ได้ปรับปรุง F-5E/F ของตนโดยเปลี่ยนเรด้าร์ ระบบอิเล็กทรอนิคต่าง ๆ และเพิ่มความแข็งแรงให้กับปีก โดยกำหนดชื่อเป็น F-5S/T ซึ่งมีความสามารถในการใช้จรวดแบบ ไพธอน-4 และ AIM-120 แอมแรม ได้ สำหรับกองทัพอากาศไทยได้ดำเนินการว่าจ้างบริษัทอิลบิทให้ทำการปรับปรุง F-5E/F ในฝูงบิน 211 อุบล ให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้น สามารถติดตั้งจรวดไพธอน-4ได้ โดยกองทัพอากาศไทยกำหนดชื่อเรียกว่า F-5T Tigres

รุ่นของเอฟ-5

  • F-5A Freedom Fighter

เครื่องบินขับไล่ที่นั่งเดี่ยว

  • F-5B Freedom Fighter

เครื่องบินขับไล่สองที่นั่ง

  • F-5C Skoshi Tiger

เป็นรุ่นที่ได้รับการปรับปรุงในบางจุด เช่น การติดตั้งท่อรับการเติมเชื้อเพลิงกลางอากาศ

  • F-5D

เครื่องบินขับไล่รุ่นสองที่นั่งซึ่งไม่ได้รับการผลิตจริง

  • F-5E Tiger II

เครื่องบินขับไล่ที่นั่งเดี่ยวรุ่นปรับปรุง

  • F-5F Tiger II

เครื่องบินขับไล่ที่สองที่นั่งรุ่นปรับปรุง

  • F-5G

เปลี่ยนเครื่องยนต์จากสองเครื่องยนต์เป็นเครื่องยนต์เดียว ต่อมาคือเอฟ-20

  • F-5N

รุ่นฝึกของกองทัพเรือสหรัฐ

  • F-5S

เครื่องบินขับไล่ที่นั่งเดียวที่ได้รับการปรับปรุงโดยกองทัพอากาศสิงคโปร์

  • F-5T

เครื่องบินขับไล่สองที่นั่งได้รับการปรับปรุงโดยกองทัพอากาศสิงคโปร์

  • F-5T Tigres

เครื่องบินขับไล่ที่นั่งเดียวและสองที่นั่งที่ได้รับการปรับปรุงโดยกองทัพอากาศไทย

  • F-5EM

เครื่องบินขับไล่ที่นั่งเดียวที่ได้รับการปรับปรุงโดยกองทัพอากาศบราซิล

  • F-5FM

เครื่องบินขับไล่สองที่นั่งที่ได้รับการปรับปรุงโดยกองทัพอากาศบราซิล

  • F-5E Tiger III

เครื่องบินขับไล่ที่นั่งเดียวที่ได้รับการปรับปรุงโดยกองทัพอากาศชิลี

  • F-5F Tiger III

เครื่องบินขับไล่สองที่นั่งที่ได้รับการปรับปรุงโดยกองทัพอากาศชิลี

  • RF-5A

เครื่องบินขับไล่ลาดตระเวนถ่ายภาพ

  • RF-5E Tigereye

เครื่องบินขับไล่ลาดตระเวนถ่ายภาพ

  • CF-5
F-5T Tigres ของกองทัพอากาศไทย ขณะกำลังเตรียมขึ้นบิน

ประเทศที่มี F-5 ประจำการ

ธงของประเทศออสเตรีย ออสเตรีย
เช่าจากสวิสเซอร์แลนด์เพื่อเตรียมพร้อมสำหรับการรอรับเครื่องบินขับไล่ไต้ฝุ่น
ธงของประเทศบาห์เรน บาห์เรน
ธงของประเทศบอตสวานา บอตสวานา
ธงของประเทศบราซิล บราซิล
ธงของประเทศชิลี ชิลี
ธงของประเทศเอธิโอเปีย เอธิโอเปีย
ธงของประเทศกรีซ กรีซ
ธงของประเทศฮอนดูรัส ฮอนดูรัส
ธงของประเทศอินโดนีเซีย อินโดนีเซีย
ธงของประเทศอิหร่าน อิหร่าน
ธงของประเทศจอร์แดน จอร์แดน
ธงของประเทศเคนยา เคนยา
ธงของประเทศลิเบีย ลิเบีย
ธงของประเทศมาเลเซีย มาเลเซีย
กำลังปลดประจำการ
ธงของประเทศเม็กซิโก เม็กซิโก
ธงของประเทศโมร็อกโก โมร็อกโก
ธงของประเทศเนเธอร์แลนด์ เนเธอร์แลนด์
ธงของประเทศนอร์เวย์ นอร์เวย์
ธงของประเทศปากีสถาน ปากีสถาน
ยืมมาจากประเทศอื่นชั่วคราวในระหว่างสงครามกับอินเดีย
ธงของประเทศฟิลิปปินส์ ฟิลิปปินส์
ธงของประเทศเกาหลีใต้ เกาหลีใต้
ธงของประเทศซาอุดีอาระเบีย ซาอุดีอาระเบีย
 สิงคโปร์
ธงของประเทศสเปน สเปน
ธงของประเทศสวิตเซอร์แลนด์ สวิตเซอร์แลนด์
 ไทย
  • กองทัพอากาศไทย: F-5A/B/E จะถูกปลดประจำการในปี 2553 และทดแทนด้วย [[JAS 39 Gripen] F-5T Tigris ยังประจำการต่อไป.
ธงของประเทศตูนิเซีย ตูนิเซีย
ธงของประเทศตุรกี ตุรกี
 สหรัฐ
ธงของประเทศเวเนซุเอลา เวเนซุเอลา
 เวียดนามใต้
ธงของประเทศเวียดนาม เวียดนาม
ธงของประเทศเยเมน เยเมน

เหตุการณ์ในประเทศไทย

ปี พ.ศ. 2512 กองทัพอากาศไทยได้รับเอฟ-5 เอจากกองทัพสหรัฐอเมริกาจำนวน 5 เครื่องและเมื่อสหรัฐอเมริกาถอนตัวจากสงครามเวียดนาม นักบินสหรัฐอเมริกาได้นำเอฟ-5 อีจำนวน 3 เครื่องบินหนีจากเวียดนามมาลงที่สนามบินอู่ตะเภา ซึ่งเอฟ-5 อีทั้ง 3 เครื่องนี้สหรัฐอเมริกาได้นำกลับไปด้วย

ปี พ.ศ. 2519 กองทัพอากาศไทยขออนุมัติรัฐบาล จัดซื้อเครื่องบินขับไล่เอฟ-5 อีและเอฟ-5 เอฟจากสหรัฐอเมริกาจำนวน 12 เครื่องและได้รับเครื่องบินเข้าประจำการครบฝูงในปี พ.ศ. 2521 โดยใช้ชื่อเครื่องบินขับไล่แบบที่ ๑๘ ข (บ.ข.๑๘ ข) หลังจากนั้นก็ได้มีการจัดซื้อเพิ่มเติมเรื่อย ๆ จนถึงในปัจจุบันกองทัพอากาศไทยมีเอฟ-5 อีมากกว่า 90 เครื่อง

เอฟ-5 ที่ประจำการในประเทศไทย

  • F-5A ใช้ชื่อเครื่องบินขับไล่แบบที่ ๑๘ (บ.ข.๑๘)
  • F-5B ใช้ชื่อเครื่องบินขับไล่แบบที่ ๑๘ ก (บ.ข.๑๘ ก)
  • F-5E ใช้ชื่อเครื่องบินขับไล่แบบที่ ๑๘ ข (บ.ข.๑๘ ข)
  • F-5F ใช้ชื่อเครื่องบินขับไล่แบบที่ ๑๘ ค (บ.ข.๑๘ ค)
  • RF-5A ใช้ชื่อเครื่องบินตรวจการณ์ขับไล่แบบที่ ๑๘ (บ.ตข.๑๘)

รายละเอียด เอฟ-5

  • ผู้สร้าง บริษัท นอร์ธรอป แอร์คราฟท์ (สหรัฐอเมริกา)
  • ประเภท เจ๊ตขับไล่ยุทธวิธีที่นั่งเดียว
  • เครื่องยนต์ เทอร์โบเจ๊ต เจเนอรัล อีเล็กตริค เจ 85-ยีอี-21 ให้แรงขับเครื่องละ 1,588 กิโลกรัม และ 2,268 กิโลกรัม เมื่อสันดาปท้าย 2 เครื่อง
  • กางปีก 8.13 เมตร
  • ยาว 14.68 เมตร
  • สูง 4.06 เมตร
  • พื้นที่ปีก 17.29 เมตร
  • น้ำหนักเปล่า 4,346 กิโลกรัม
  • น้ำหนักวิ่งขึ้นสูงสุด 11,192 กิโลกรัม
  • อัตราเร็วสูงสุด ไม่เกิน 1,314 กิโลเมตร/ชั่วโมง เมื่อมีน้ำหนักปฏิบัติการรบ 6,010 กิโลกรัม
  • อัตราเร็วขั้นสูง 1.63 มัค ที่ระยะสูง 10,975 เมตร เมื่อเครื่องบินหนัก 10,975 กิโลกรัม
  • เพดานบินใช้งาน 15,790 เมตร
  • รัศมีทำการรบ 917 กิโลเมตร
  • พิสัยบิน 2,943 กิโลเมตร เมื่อติดตั้งถังเชื้อเพลิงชนิดปลดทิ้งได้
  • อาวุธ ปืนใหญ่อากาศขนาด 20 มม. M-39 A2/A3 ติดตั้งที่ลำตัวส่วนหัว 2 กระบอกพร้อมกระสุนกระบอกละ 280 นัด
    • อาวุธปล่อยอากาศสู่อากาศ เอไอเอ็ม-9 เจ ไซด์ไวน์เดอร์ ติดตั้งที่ปลายปีก ข้างละ 1 แห่ง
    • ลูกระเบิดสังหาร ลูกระเบิดทำลาย ลูกระเบิดเนปาล์ม ลูกระเบิดพวง
    • จรวดขนาด 2.95 นิ้ว
    • สามารถติดตั้งอาวุธที่ใต้ปีกได้ข้างละ 2 แห่ง และ ใต้ลำตัว 1 แห่ง รวมเป็นน้ำหนักสูงสุด 3,175 กิโลกรัม

[1]

เพิ่มเติม

อ้างอิง

  1. อภิวัตน์ โควินทรานนท์,อากาศยาน1979ฉบับเครื่องบิน,เอวิเอชั่น ออบเซิร์ฟเวอร์,กรุงเทพ,2522