ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระราชวังสราญรมย์"

พิกัด: 13°45′01″N 100°29′41″E / 13.75033°N 100.49469°E / 13.75033; 100.49469
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
2T (คุย | ส่วนร่วม)
ScorpianPK (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2: บรรทัด 2:
[[ภาพ:พระราชวังสราญรมย์.jpg|thumb|300px|พระราชวังสราญรมย์ เมื่อปี พ.ศ. 2441]]
[[ภาพ:พระราชวังสราญรมย์.jpg|thumb|300px|พระราชวังสราญรมย์ เมื่อปี พ.ศ. 2441]]


'''วังสราญรมย์''' เป็นวังที่ตั้งอยู่ระหว่าง[[พระบรมมหาราชวัง]] กับ[[วัดราชประดิษฐ์]] ทางทิศตะวันออกของพระบรมมหาราชวัง สร้างขึ้นในสมัย[[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] เคยใช้เป็นที่ทำการของ[[กระทรวงการต่างประเทศ]] และเป็นบ้านพักรับรอง[[พระราชอาคันตุกะ]]
'''พระราชวังสราญรมย์''' เป็นวังที่ตั้งอยู่ระหว่าง[[พระบรมมหาราชวัง]] กับ[[วัดราชประดิษฐ์]] ทางทิศตะวันออกของพระบรมมหาราชวัง สร้างขึ้นในสมัย[[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] เคยใช้เป็นที่ทำการของ[[กระทรวงการต่างประเทศ]] และเป็นบ้านพักรับรอง[[พระราชอาคันตุกะ]]


พระราชวังสราญรมย์ เป็นอาคารก่ออิฐถือปูนสองชั้น ออกแบบโดย [[เฮนรี อาลาบาศเตอร์]] เริ่มก่อสร้างเมื่อ พ.ศ. 2409 โดยมี[[เจ้าพระยาบุรุษรัตนราชพัลลภ (เพ็ง)]] เป็นผู้ควบคุมการก่อสร้าง พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ ให้สร้างเพื่อใช้เป็นที่ประทับ พระราชทานนามว่า '''สราญรมย์''' แต่เสด็จสวรรคตก่อนที่จะสร้างเสร็จ
พระราชวังสราญรมย์ เป็นอาคารก่ออิฐถือปูนสองชั้น ออกแบบโดย [[เฮนรี อาลาบาศเตอร์]] เริ่มก่อสร้างเมื่อ พ.ศ. 2409 โดยมี[[เจ้าพระยาบุรุษรัตนราชพัลลภ (เพ็ง)]] เป็นผู้ควบคุมการก่อสร้าง พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ ให้สร้างเพื่อใช้เป็นที่ประทับ พระราชทานนามว่า '''สราญรมย์''' แต่เสด็จสวรรคตก่อนที่จะสร้างเสร็จ
บรรทัด 8: บรรทัด 8:
ในช่วงต้นรัชกาล[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ทรงพระราชทานวังสราญรมย์ให้เป็นที่ประทับชั่วคราว ของเจ้านายเมื่อแรกออกจากวังหลวง ก่อนที่วังประทับถาวรจะก่อสร้างแล้วเสร็จ อาทิเช่น [[เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์]]ทรงประทับเมื่อ พ.ศ. 2419 - 2424 ระหว่างก่อสร้าง[[วังบูรพาภิรมย์]] ต่อมาทรงโปรดเกล้าฯ ให้ใช้เป็นที่ประทับรับรองพระราชอาคันตุกะจากต่างประเทศ เช่น อาทิ เจ้าชายแห่งญี่ปุ่น มกุฎราชกุมารแห่งรัสเซีย (พระเจ้าซาร์นิโคลัสที่ 2) เจ้าชายจอร์จแห่งกรีซ พระราชอาคันตุกะพระองค์แรกที่เข้ามาประทับคือ เจ้าชายออสการ์ เมื่อ พ.ศ. 2427
ในช่วงต้นรัชกาล[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ทรงพระราชทานวังสราญรมย์ให้เป็นที่ประทับชั่วคราว ของเจ้านายเมื่อแรกออกจากวังหลวง ก่อนที่วังประทับถาวรจะก่อสร้างแล้วเสร็จ อาทิเช่น [[เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์]]ทรงประทับเมื่อ พ.ศ. 2419 - 2424 ระหว่างก่อสร้าง[[วังบูรพาภิรมย์]] ต่อมาทรงโปรดเกล้าฯ ให้ใช้เป็นที่ประทับรับรองพระราชอาคันตุกะจากต่างประเทศ เช่น อาทิ เจ้าชายแห่งญี่ปุ่น มกุฎราชกุมารแห่งรัสเซีย (พระเจ้าซาร์นิโคลัสที่ 2) เจ้าชายจอร์จแห่งกรีซ พระราชอาคันตุกะพระองค์แรกที่เข้ามาประทับคือ เจ้าชายออสการ์ เมื่อ พ.ศ. 2427


เมื่อ พ.ศ. 2428 [[สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเทวัญอุไทยวงศ์ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการ|พระเจ้าน้องยาเธอ กรมหมื่นเทววงศ์วโรปการ]] ได้รับโปรดเกล้าฯ ให้เป็นเสนาบดีกระทรวงการต่างประเทศ ทรงขอพระราชทานวังสราญรมย์ ให้เป็นที่ทำการของกระทรวงการต่างประเทศ ต่อมาจึงย้ายไปที่[[ตึกราชวัลลภ]] ในพระบรมมหาราชวัง ใน พ.ศ. 2430 วังสราญรมย์ จึงใช้เป็นบ้านพักรับรองพระราชอาคันตุกะ เรื่อยมาจนถึงสมัย[[พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว]]
เมื่อ พ.ศ. 2428 [[สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเทวัญอุไทยวงศ์ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการ|พระเจ้าน้องยาเธอ กรมหมื่นเทววงศ์วโรปการ]] ได้รับโปรดเกล้าฯ ให้เป็นเสนาบดีกระทรวงการต่างประเทศ ทรงขอพระราชทานวังสราญรมย์ ให้เป็นที่ทำการของกระทรวงการต่างประเทศ ต่อมาจึงย้ายไปที่[[ตึกราชวัลลภ]] ในพระบรมมหาราชวัง ใน พ.ศ. 2430 วังสราญรมย์ จึงใช้เป็นบ้านพักรับรองพระราชอาคันตุกะ เรื่อยมาจนถึงสมัย[[พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว]] โดยพระองค์โปรดให้เรียก "วังสราญรมย์" เป็น "'''พระราชวังสราญรมย์'''" ตั้งแต่วันที่ [[16 กรกฎาคม]] [[พ.ศ. 2459]]<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2459/A/113.PDF พระบรมราชโองการ ประกาศ ขนานนามประตูพระราชวังสวนดุสิต ], เล่ม ๓๓, ตอน ๐ก, ๓๐ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๕๙, หน้า ๑๑๓</ref>


ในสมัย[[พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ทรงโปรดเกล้าฯ พระราชทานวังสราญรมย์ให้เป็นที่ทำการของกระทรวงการต่างประเทศ อีกครั้ง เนื่องจาก ตึกราชวัลลภ ในพระบรมมหาราชวังชำรุดทรุดโทรมลงมาก และใช้เป็นที่ทำการถาวรจนถึงปัจจุบัน
ในสมัย[[พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ทรงโปรดเกล้าฯ พระราชทานวังสราญรมย์ให้เป็นที่ทำการของกระทรวงการต่างประเทศ อีกครั้ง เนื่องจาก ตึกราชวัลลภ ในพระบรมมหาราชวังชำรุดทรุดโทรมลงมาก และใช้เป็นที่ทำการถาวรจนถึงปัจจุบัน


==อ้างอิง==
== อ้างอิง ==
<references />
* [http://www.homedd.com/HomeddWeb/homedd/home_magazine/frontweb/know_past_10.jsp เยี่ยมเรือน เยือนอดีต - อลังการ สง่างาม วังสราญรมย์]
* [http://www.homedd.com/HomeddWeb/homedd/home_magazine/frontweb/know_past_10.jsp เยี่ยมเรือน เยือนอดีต - อลังการ สง่างาม วังสราญรมย์]

== แหล่งข้อมูลอื่น ==
{{geolinks-bldg|13.75033|100.49469}}
{{geolinks-bldg|13.75033|100.49469}}



รุ่นแก้ไขเมื่อ 00:01, 19 กรกฎาคม 2551

พระราชวังสราญรมย์ เมื่อปี พ.ศ. 2441

พระราชวังสราญรมย์ เป็นวังที่ตั้งอยู่ระหว่างพระบรมมหาราชวัง กับวัดราชประดิษฐ์ ทางทิศตะวันออกของพระบรมมหาราชวัง สร้างขึ้นในสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เคยใช้เป็นที่ทำการของกระทรวงการต่างประเทศ และเป็นบ้านพักรับรองพระราชอาคันตุกะ

พระราชวังสราญรมย์ เป็นอาคารก่ออิฐถือปูนสองชั้น ออกแบบโดย เฮนรี อาลาบาศเตอร์ เริ่มก่อสร้างเมื่อ พ.ศ. 2409 โดยมีเจ้าพระยาบุรุษรัตนราชพัลลภ (เพ็ง) เป็นผู้ควบคุมการก่อสร้าง พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ ให้สร้างเพื่อใช้เป็นที่ประทับ พระราชทานนามว่า สราญรมย์ แต่เสด็จสวรรคตก่อนที่จะสร้างเสร็จ

ในช่วงต้นรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระราชทานวังสราญรมย์ให้เป็นที่ประทับชั่วคราว ของเจ้านายเมื่อแรกออกจากวังหลวง ก่อนที่วังประทับถาวรจะก่อสร้างแล้วเสร็จ อาทิเช่น เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ทรงประทับเมื่อ พ.ศ. 2419 - 2424 ระหว่างก่อสร้างวังบูรพาภิรมย์ ต่อมาทรงโปรดเกล้าฯ ให้ใช้เป็นที่ประทับรับรองพระราชอาคันตุกะจากต่างประเทศ เช่น อาทิ เจ้าชายแห่งญี่ปุ่น มกุฎราชกุมารแห่งรัสเซีย (พระเจ้าซาร์นิโคลัสที่ 2) เจ้าชายจอร์จแห่งกรีซ พระราชอาคันตุกะพระองค์แรกที่เข้ามาประทับคือ เจ้าชายออสการ์ เมื่อ พ.ศ. 2427

เมื่อ พ.ศ. 2428 พระเจ้าน้องยาเธอ กรมหมื่นเทววงศ์วโรปการ ได้รับโปรดเกล้าฯ ให้เป็นเสนาบดีกระทรวงการต่างประเทศ ทรงขอพระราชทานวังสราญรมย์ ให้เป็นที่ทำการของกระทรวงการต่างประเทศ ต่อมาจึงย้ายไปที่ตึกราชวัลลภ ในพระบรมมหาราชวัง ใน พ.ศ. 2430 วังสราญรมย์ จึงใช้เป็นบ้านพักรับรองพระราชอาคันตุกะ เรื่อยมาจนถึงสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยพระองค์โปรดให้เรียก "วังสราญรมย์" เป็น "พระราชวังสราญรมย์" ตั้งแต่วันที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2459[1]

ในสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงโปรดเกล้าฯ พระราชทานวังสราญรมย์ให้เป็นที่ทำการของกระทรวงการต่างประเทศ อีกครั้ง เนื่องจาก ตึกราชวัลลภ ในพระบรมมหาราชวังชำรุดทรุดโทรมลงมาก และใช้เป็นที่ทำการถาวรจนถึงปัจจุบัน

อ้างอิง

  1. ราชกิจจานุเบกษา, พระบรมราชโองการ ประกาศ ขนานนามประตูพระราชวังสวนดุสิต , เล่ม ๓๓, ตอน ๐ก, ๓๐ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๕๙, หน้า ๑๑๓

แหล่งข้อมูลอื่น

13°45′01″N 100°29′41″E / 13.75033°N 100.49469°E / 13.75033; 100.49469