ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ไลกา (สุนัข)"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด +แจ้งรอตรวจสอบด้วยบอต
Sli20Tw7N96mrv (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2: บรรทัด 2:
{{ชื่ออื่น|||ไลก้า}}
{{ชื่ออื่น|||ไลก้า}}
[[ภาพ:Laika.jpg|thumb|ไลก้า]]
[[ภาพ:Laika.jpg|thumb|ไลก้า]]
'''ไลก้า''' ([[ภาษาอังกฤษ|อังกฤษ]] : '''Laika''' มาจาก[[ภาษารัสเซีย]]: '''Лайка''') เป็นชื่อของ[[หมา]]ตัวแรกของโลกที่เดินทางไปกับ[[ยานอวกาศ]][[สปุตนิก 2]] ของ[[โซเวียต]] ขึ้นไปในวงโคจรรอบโลกเมื่อวันที่ [[3 พฤศจิกายน]] [[พ.ศ. 2500]] หนึ่งเดือนหลังการส่ง[[สปุตนิก 1]] ขึ้นสู่อวกาศ ในวันที่ [[4 ตุลาคม]] [[พ.ศ. 2500]]
'''ไลก้า''' ([[ภาษาอังกฤษ|อังกฤษ]] : '''Laika''' มาจาก[[ภาษารัสเซีย]]: '''Лайка''') เป็นชื่อของ[[สุนัข]]ตัวแรกของโลกที่เดินทางไปกับ[[ยานอวกาศ]][[สปุตนิก 2]] ของ[[โซเวียต]] ขึ้นไปในวงโคจรรอบโลกเมื่อวันที่ [[3 พฤศจิกายน]] [[พ.ศ. 2500]] หนึ่งเดือนหลังการส่ง[[สปุตนิก 1]] ขึ้นสู่อวกาศ ในวันที่ [[4 ตุลาคม]] [[พ.ศ. 2500]]


ไลก้า เป็นหมาตัวเมีย อายุประมาณ 3 ปี หนักประมาณ 6 กิโลกรัม เดิมชื่อว่า '''Kudryavka''' (รัสเซีย: '''кудрявка''') เป็น[[หมาข้างถนน]]ที่ถูกพบในกรุง[[มอสโคว์]] ถูกเปลี่ยนชื่อเป็นไลก้า ตามชื่อ[[รายชื่อพันธุ์สุนัข|พันธุ์สุนัข]]ที่ใช้ล่าสัตว์ใน[[รัสเซีย]] [[ไซบีเรีย]] และ[[สแกนดิเนเวีย]] ไลก้าเป็นหมาหนึ่งในสามตัวที่ได้รับการฝึกสำหรับปฏิบัติภารกิจนี้ อีกสองตัว มีชื่อว่า Albina และ Mushka
ไลก้า เป็นสุนัขเพศเมีย อายุประมาณ 3 ปี หนักประมาณ 6 กิโลกรัม เดิมชื่อว่า '''Kudryavka''' (รัสเซีย: '''кудрявка''') เป็น[[หมาข้างถนน]]ที่ถูกพบในกรุง[[มอสโคว์]] ถูกเปลี่ยนชื่อเป็นไลก้า ตามชื่อ[[รายชื่อพันธุ์สุนัข|พันธุ์สุนัข]]ที่ใช้ล่าสัตว์ใน[[รัสเซีย]] [[ไซบีเรีย]] และ[[สแกนดิเนเวีย]] ไลก้าเป็นหมาหนึ่งในสามตัวที่ได้รับการฝึกสำหรับปฏิบัติภารกิจนี้ อีกสองตัว มีชื่อว่า Albina และ Mushka


หลังจากสปุตนิก 2 เข้าสู่วงโคจรแล้ว ทางการโซเวียตแถลงว่าภารกิจนี้ จะไม่มีการนำไลก้ากลับมายังพื้นโลก มันจะต้องตายในอวกาศ หลังจากนั้นทางการโซเวียตแถลงว่า ไลก้ามีชีวิตอยู่ในอวกาศนานถึงสี่วัน ก่อนจะตายอย่างสงบ ยานอวกาศสปุตนิก 2 โคจรรอบโลกเป็นจำนวน 2,570 รอบ ก่อนจะตกลงสู่บรรยากาศโลกในวันที่ [[4 เมษายน]] [[พ.ศ. 2501]]
หลังจากสปุตนิก 2 เข้าสู่วงโคจรแล้ว ทางการโซเวียตแถลงว่าภารกิจนี้จะไม่มีการนำไลก้ากลับมายังพื้นโลก มันจะต้องตายในอวกาศ หลังจากนั้นทางการโซเวียตแถลงว่า ไลก้ามีชีวิตอยู่ในอวกาศนานถึงสี่วัน ก่อนจะตายอย่างสงบ ยานอวกาศสปุตนิก 2 โคจรรอบโลกเป็นจำนวน 2,570 รอบ ก่อนจะตกลงสู่บรรยากาศโลกในวันที่ [[4 เมษายน]] [[พ.ศ. 2501]]


[[ภาพ:Belka and Strelka Russian Space Dogs.jpg|thumb|สเตรลก้า (ซ้าย) กับเบลก้า ที่ถูกส่งขึ้นไปกับสปุตนิก 5]]
[[ภาพ:Belka and Strelka Russian Space Dogs.jpg|thumb|สเตรลก้า (ซ้าย) กับเบลก้า ที่ถูกส่งขึ้นไปกับสปุตนิก 5]]


สาเหตุการตายของไลก้าถูกปกปิดเป็นความลับเป็นเวลาหลายปี จนกระทั่งมีการเปิดเผยโดย Dimitri Malashenkov แห่ง Institute for Biological Problems กรุงมอสโคว์ เมื่อเร็วๆ นี้ <ref>http://news.bbc.co.uk/2/hi/sci/tech/2367681.stm</ref> ระบุว่าหลังจากถูกส่งขึ้นไปในอวกาศไม่นาน ไลก้ามีชีพจรสูงผิดปกติ หลังจากอยู่ใน[[สภาวะไร้น้ำหนัก]] กลับมีชีพจรต่ำลง แสดงให้เห็นว่าไลก้ามี[[ความเครียด]]สูง จากนั้นระบบควบคุมอุณหภูมิของยานอวกาศทำงานผิดปกติ ทำให้ไลก้าตายด้วย[[ความร้อนสูง]] และอาการตื่นตระหนก ประมาณ 5-7 ชั่วโมง หลังจากเริ่มปล่อยยาน <ref>http://www.space.com/news/laika_anniversary_991103.html</ref>
สาเหตุการตายของไลก้าถูกปกปิดเป็นความลับเป็นเวลาหลายปี จนกระทั่งมีการเปิดเผยโดย Dimitri Malashenkov แห่ง Institute for Biological Problems กรุงมอสโคว์ เมื่อเร็วๆ นี้ <ref>http://news.bbc.co.uk/2/hi/sci/tech/2367681.stm</ref> ระบุว่าหลังจากถูกส่งขึ้นไปในอวกาศไม่นาน ไลก้ามีชีพจรสูงผิดปกติ หลังจากอยู่ใน[[สภาวะไร้น้ำหนัก]] กลับมีชีพจรต่ำลง แสดงให้เห็นว่าไลก้ามี[[ความเครียด]]สูง จากนั้นระบบควบคุมอุณหภูมิของยานอวกาศทำงานผิดปกติ ทำให้ไลก้าตายด้วย[[ความร้อนสูง]] และอาการตื่นตระหนก ประมาณ 5-7 ชั่วโมง หลังจากเริ่มปล่อยยาน <ref>http://www.space.com/news/laika_anniversary_991103.html</ref>


อย่างไรก็ตาม การที่มันสามารถมีชีวิตอยู่ในอวกาศ ในสภาวะไร้น้ำหนักในช่วงแรกของการเดินทาง และข้อมูลที่ตรวจวัดได้ ถือเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาวงการสำรวจอวกาศ ด้วย[[นักบินอวกาศ]]ในเวลาต่อมา
อย่างไรก็ตาม การที่มันสามารถมีชีวิตอยู่ในอวกาศ ในสภาวะไร้น้ำหนักในช่วงแรกของการเดินทาง และข้อมูลที่ตรวจวัดได้ ถือเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาวงการสำรวจอวกาศ ด้วย[[นักบินอวกาศ]]ในเวลาต่อมา
บรรทัด 16: บรรทัด 16:
หลังจากการส่งสปุตนิก 2 โซเวียตได้ส่งหมาขึ้นไปในอวกาศอีกครั้ง กับยานอวกาศ[[สปุตนิก 5]] เมื่อวันที่ [[19 สิงหาคม]] [[พ.ศ. 2503]] พร้อมกับหมาพันธุ์ผสม 2 ตัว ชื่อ '''เบลก้า''' (Belka, Белка) และ '''สเตรลก้า''' (Strelka, Стрелка) กับ[[หนู]]และ[[ต้นไม้]]จำนวนหนึ่ง ยานกลับสู่บรรยากาศโลกอย่างปลอดภัยในวันที่ [[20 สิงหาคม]] [[พ.ศ. 2503]] หลังจากนั้น สเตรลก้า มีลูกครอกหนึ่ง ทางการโซเวียตได้จัดส่งลูกของสเตรลก้า ให้เป็นของขวัญแก่ [[แจกเกอลีน เคนเนดี]] ภริยาประธานาธิบดี [[จอห์น เอฟ. เคนเนดี]]
หลังจากการส่งสปุตนิก 2 โซเวียตได้ส่งหมาขึ้นไปในอวกาศอีกครั้ง กับยานอวกาศ[[สปุตนิก 5]] เมื่อวันที่ [[19 สิงหาคม]] [[พ.ศ. 2503]] พร้อมกับหมาพันธุ์ผสม 2 ตัว ชื่อ '''เบลก้า''' (Belka, Белка) และ '''สเตรลก้า''' (Strelka, Стрелка) กับ[[หนู]]และ[[ต้นไม้]]จำนวนหนึ่ง ยานกลับสู่บรรยากาศโลกอย่างปลอดภัยในวันที่ [[20 สิงหาคม]] [[พ.ศ. 2503]] หลังจากนั้น สเตรลก้า มีลูกครอกหนึ่ง ทางการโซเวียตได้จัดส่งลูกของสเตรลก้า ให้เป็นของขวัญแก่ [[แจกเกอลีน เคนเนดี]] ภริยาประธานาธิบดี [[จอห์น เอฟ. เคนเนดี]]


==อ้างอิง==
== อ้างอิง ==
{{wikiquote-en|Laika}}
{{wikiquote-en|Laika}}
{{commonscat|Laika}}
{{commonscat|Laika}}
<references />
<references/>


==แหล่งข้อมูลอื่น==
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
* http://advisor.anamai.moph.go.th/healthteen/picup/doggy.html
* http://advisor.anamai.moph.go.th/healthteen/picup/doggy.html
* http://update.se-ed.com/167/reluctant_astronaut.htm
* http://update.se-ed.com/167/reluctant_astronaut.htm
บรรทัด 28: บรรทัด 28:
[[หมวดหมู่:การสำรวจอวกาศ|ล]]
[[หมวดหมู่:การสำรวจอวกาศ|ล]]
{{Link FA|es}}
{{Link FA|es}}

{{Link FA|en}}
{{Link FA|en}}



รุ่นแก้ไขเมื่อ 16:52, 21 มิถุนายน 2551

ไลก้า

ไลก้า (อังกฤษ : Laika มาจากภาษารัสเซีย: Лайка) เป็นชื่อของสุนัขตัวแรกของโลกที่เดินทางไปกับยานอวกาศสปุตนิก 2 ของโซเวียต ขึ้นไปในวงโคจรรอบโลกเมื่อวันที่ 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2500 หนึ่งเดือนหลังการส่งสปุตนิก 1 ขึ้นสู่อวกาศ ในวันที่ 4 ตุลาคม พ.ศ. 2500

ไลก้า เป็นสุนัขเพศเมีย อายุประมาณ 3 ปี หนักประมาณ 6 กิโลกรัม เดิมชื่อว่า Kudryavka (รัสเซีย: кудрявка) เป็นหมาข้างถนนที่ถูกพบในกรุงมอสโคว์ ถูกเปลี่ยนชื่อเป็นไลก้า ตามชื่อพันธุ์สุนัขที่ใช้ล่าสัตว์ในรัสเซีย ไซบีเรีย และสแกนดิเนเวีย ไลก้าเป็นหมาหนึ่งในสามตัวที่ได้รับการฝึกสำหรับปฏิบัติภารกิจนี้ อีกสองตัว มีชื่อว่า Albina และ Mushka

หลังจากสปุตนิก 2 เข้าสู่วงโคจรแล้ว ทางการโซเวียตแถลงว่าภารกิจนี้จะไม่มีการนำไลก้ากลับมายังพื้นโลก มันจะต้องตายในอวกาศ หลังจากนั้นทางการโซเวียตแถลงว่า ไลก้ามีชีวิตอยู่ในอวกาศนานถึงสี่วัน ก่อนจะตายอย่างสงบ ยานอวกาศสปุตนิก 2 โคจรรอบโลกเป็นจำนวน 2,570 รอบ ก่อนจะตกลงสู่บรรยากาศโลกในวันที่ 4 เมษายน พ.ศ. 2501

ไฟล์:Belka and Strelka Russian Space Dogs.jpg
สเตรลก้า (ซ้าย) กับเบลก้า ที่ถูกส่งขึ้นไปกับสปุตนิก 5

สาเหตุการตายของไลก้าถูกปกปิดเป็นความลับเป็นเวลาหลายปี จนกระทั่งมีการเปิดเผยโดย Dimitri Malashenkov แห่ง Institute for Biological Problems กรุงมอสโคว์ เมื่อเร็วๆ นี้ [1] ระบุว่าหลังจากถูกส่งขึ้นไปในอวกาศไม่นาน ไลก้ามีชีพจรสูงผิดปกติ หลังจากอยู่ในสภาวะไร้น้ำหนัก กลับมีชีพจรต่ำลง แสดงให้เห็นว่าไลก้ามีความเครียดสูง จากนั้นระบบควบคุมอุณหภูมิของยานอวกาศทำงานผิดปกติ ทำให้ไลก้าตายด้วยความร้อนสูง และอาการตื่นตระหนก ประมาณ 5-7 ชั่วโมง หลังจากเริ่มปล่อยยาน [2]

อย่างไรก็ตาม การที่มันสามารถมีชีวิตอยู่ในอวกาศ ในสภาวะไร้น้ำหนักในช่วงแรกของการเดินทาง และข้อมูลที่ตรวจวัดได้ ถือเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาวงการสำรวจอวกาศ ด้วยนักบินอวกาศในเวลาต่อมา

หลังจากการส่งสปุตนิก 2 โซเวียตได้ส่งหมาขึ้นไปในอวกาศอีกครั้ง กับยานอวกาศสปุตนิก 5 เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม พ.ศ. 2503 พร้อมกับหมาพันธุ์ผสม 2 ตัว ชื่อ เบลก้า (Belka, Белка) และ สเตรลก้า (Strelka, Стрелка) กับหนูและต้นไม้จำนวนหนึ่ง ยานกลับสู่บรรยากาศโลกอย่างปลอดภัยในวันที่ 20 สิงหาคม พ.ศ. 2503 หลังจากนั้น สเตรลก้า มีลูกครอกหนึ่ง ทางการโซเวียตได้จัดส่งลูกของสเตรลก้า ให้เป็นของขวัญแก่ แจกเกอลีน เคนเนดี ภริยาประธานาธิบดี จอห์น เอฟ. เคนเนดี

อ้างอิง

  1. http://news.bbc.co.uk/2/hi/sci/tech/2367681.stm
  2. http://www.space.com/news/laika_anniversary_991103.html

แหล่งข้อมูลอื่น

แม่แบบ:Link FA แม่แบบ:Link FA