ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ตัวยกและตัวห้อย"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 5: บรรทัด 5:
'''ตัวห้อย''' หรือ '''ดรรชนีล่าง''' ({{lang-en|subscript}}) คืออักขระใดๆ ที่เขียนในระดับต่ำกว่าระดับบรรทัดปกติ
'''ตัวห้อย''' หรือ '''ดรรชนีล่าง''' ({{lang-en|subscript}}) คืออักขระใดๆ ที่เขียนในระดับต่ำกว่าระดับบรรทัดปกติ


ทั้งตัวยกและตัวห้อยจะถูกเขียนให้มีขนาดเล็กกว่าขนาดปกติเล็กน้อย ส่วนใหญ่ใช้กับ[[สูตรคณิตศาสตร์]]หรือ[[สูตรเคมี]] พบได้น้อยกับข้อความทั่วไป
ทั้งตัวยกและตัวห้อยจะถูกเขียนให้มีขนาดเล็กกว่าปกติเล็กน้อย ส่วนใหญ่ใช้กับ[[สูตรคณิตศาสตร์]]หรือ[[สูตรเคมี]] พบได้น้อยกับข้อความทั่วไป


== การใช้ ==
== การใช้ ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 19:09, 14 มิถุนายน 2551

ตัวยกและตัวห้อย 4 ตำแหน่ง

ตัวยก หรือ ดรรชนีบน (อังกฤษ: superscript) คืออักขระใดๆ ที่เขียนในระดับสูงกว่าระดับบรรทัดปกติ

ตัวห้อย หรือ ดรรชนีล่าง (อังกฤษ: subscript) คืออักขระใดๆ ที่เขียนในระดับต่ำกว่าระดับบรรทัดปกติ

ทั้งตัวยกและตัวห้อยจะถูกเขียนให้มีขนาดเล็กกว่าปกติเล็กน้อย ส่วนใหญ่ใช้กับสูตรคณิตศาสตร์หรือสูตรเคมี พบได้น้อยกับข้อความทั่วไป

การใช้

  • ในทางคณิตศาสตร์ ตัวห้อยที่อยู่ด้านหลังของจำนวนจะแสดงว่า จำนวนนั้นๆ อยู่ในฐานอะไร เช่น 12110 ซับสคริปต์ด้วยเลข 3 จะบอกให้รู้ว่า จำนวนนี้อยู่ในระบบเลขฐาน 3 และหลักที่ n จากทางด้านขวา จะมีค่าประจำหลักเท่ากับ โดยทั่วไปแล้วในระบบตัวเลขฐาน 10 จะไม่บอกฐาน
  • ในทางเคมี ซับสคริปต์แสดงจำนวนอะตอมในสารประกอบต่างๆ ถ้าไม่มีตัวเลขนั้นหมายความว่ามีเพียง 1 อะตอมต่อโมเลกุล

การพิมพ์