ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สมเด็จพระวันรัต"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tmd (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด +แจ้งรอตรวจสอบด้วยบอต
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{รอการตรวจสอบ}}
{{พุทธศาสนา}}
{{พุทธศาสนา}}
'''วันรัต''' (อ่านว่า วันนะรัด) แปลว่า ''ผู้ยินดีในการอยู่ป่า, ผู้รักการอยู่ป่า'' ของเดิมใช้ '''พนรัต'''
'''วันรัต''' (อ่านว่า วันนะรัด) แปลว่า ''ผู้ยินดีในการอยู่ป่า, ผู้รักการอยู่ป่า'' ของเดิมใช้ '''พนรัต'''

รุ่นแก้ไขเมื่อ 02:10, 13 มิถุนายน 2551

วันรัต (อ่านว่า วันนะรัด) แปลว่า ผู้ยินดีในการอยู่ป่า, ผู้รักการอยู่ป่า ของเดิมใช้ พนรัต

วันรัต เป็นนามที่ได้มาจากลังกา สันนิษฐานตามคำแปลว่าคงเป็นสังฆนายกฝ่ายอรัญวาสี คู่กับพระพุทธโฆษาจารย์ สังฆนายกฝ่ายคามวาสี นามนี้มีปรากฏฏครั้งแรกในหนังสือพระราชพงศาวดารในสมัยสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ ที่มีชื่อเสียงปรากฏเด่นชัดคือ สมเด็จพระวันรัต วัดป่าแก้ว ซึ่งได้เข้าไปถวายพระพรสมเด็จพระนเรศวรมหาราชขอพระราชทานอภัยโทษแก่ข้าราชการที่ตามเสด็จไม่ทันในครั้งทำยุทธหัตถี

วันรัต ในปัจจุบันใช้เป็นพระราชทินนามสมเด็จพระราชาคณะ เรียกเต็มว่า สมเด็จพระวันรัต พระมหาเถระผู้จะได้รับพระราชทานนามนี้จะต้องมีความสำคัญมากในด้านภูมิธรรม โดยเฉพาะความป็นผู้ยินดีในการปฏิบัติกรรมฐาน ยินดีในการปลีกวิเวก


อ้างอิง