ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด +แจ้งรอตรวจสอบด้วยบอต
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{รอการตรวจสอบ}}
{{ข้อมูลมหาวิทยาลัย
{{ข้อมูลมหาวิทยาลัย
| ชื่อ = มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี
| ชื่อ = มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี
บรรทัด 21: บรรทัด 22:


== ประวัติ ==
== ประวัติ ==
ในปี [[พ.ศ. 2516]] ได้มีการจัดตั้ง "'''วิทยาลัยครููสุราษฎร์ธานี'''" โดยเปิดสอนในสาขาวิชาครุศาสตร์ หลังจากนั้น [[พ.ศ. 2528]] ได้เพิ่มการเรียนการสอนในสาขาอื่น ๆ นอกจากครุศาสตร์ และได้รวมกับกลุ่มวิทยาลัยครูทางภาคใต้ 5 แห่ง จัดตั้ง "สหวิทยาลัยทักษิณ" โดยมีีสำนักงานของสหวิทยาลัยครูอยู่ที่วิทยาลัยครูสุราษฎร์ธานี
ในปี [[พ.ศ. 2516]] ได้มีการจัดตั้ง "'''วิทยาลัยครูสุราษฎร์ธานี'''" โดยเปิดสอนในสาขาวิชาครุศาสตร์ หลังจากนั้น [[พ.ศ. 2528]] ได้เพิ่มการเรียนการสอนในสาขาอื่น ๆ นอกจากครุศาสตร์ และได้รวมกับกลุ่มวิทยาลัยครูทางภาคใต้ 5 แห่ง จัดตั้ง "สหวิทยาลัยทักษิณ" โดยมีสำนักงานของสหวิทยาลัยครูอยู่ที่วิทยาลัยครูสุราษฎร์ธานี


ต่อมา ในวันที่ [[14 กุมภาพันธ์]] [[พ.ศ. 2535]] [[พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว]] พระราชทานนาม “สถาบันราชภัฏ” แทนชื่อ "วิทยาลัยครู" มีผลให้ "วิทยาลัยครูสุราษฎร์ธานี" เปลี่ยนชื่อเป็น"'''สถาบันราชภัฏสุราษฎร์ธานี'''" และยกฐานะเป็น "มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี" ตั้งแต่ปี [[พ.ศ. 2547]] เป็นต้นมา
ต่อมา ในวันที่ [[14 กุมภาพันธ์]] [[พ.ศ. 2535]] [[พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว]] พระราชทานนาม “สถาบันราชภัฏ” แทนชื่อ "วิทยาลัยครู" มีผลให้ "วิทยาลัยครูสุราษฎร์ธานี" เปลี่ยนชื่อเป็น"'''สถาบันราชภัฏสุราษฎร์ธานี'''" และยกฐานะเป็น "มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี" ตั้งแต่ปี [[พ.ศ. 2547]] เป็นต้นมา

รุ่นแก้ไขเมื่อ 05:52, 12 มิถุนายน 2551

มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี
ไฟล์:ตรา มรภ.สุราษฎร์ธานี.jpg
ประเภทรัฐบาล
สถาปนาพ.ศ. 2516
ดูบทความหลักที่ มหาวิทยาลัยราชภัฏ

มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี ตั้งอยู่ที่จังหวัดสุราษฎร์ธานี เปิดการเรียนการสอนในระดับอนุปริญญา และระดับปริญญาตรี

ประวัติ

ในปี พ.ศ. 2516 ได้มีการจัดตั้ง "วิทยาลัยครูสุราษฎร์ธานี" โดยเปิดสอนในสาขาวิชาครุศาสตร์ หลังจากนั้น พ.ศ. 2528 ได้เพิ่มการเรียนการสอนในสาขาอื่น ๆ นอกจากครุศาสตร์ และได้รวมกับกลุ่มวิทยาลัยครูทางภาคใต้ 5 แห่ง จัดตั้ง "สหวิทยาลัยทักษิณ" โดยมีสำนักงานของสหวิทยาลัยครูอยู่ที่วิทยาลัยครูสุราษฎร์ธานี

ต่อมา ในวันที่ 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2535 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พระราชทานนาม “สถาบันราชภัฏ” แทนชื่อ "วิทยาลัยครู" มีผลให้ "วิทยาลัยครูสุราษฎร์ธานี" เปลี่ยนชื่อเป็น"สถาบันราชภัฏสุราษฎร์ธานี" และยกฐานะเป็น "มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี" ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2547 เป็นต้นมา

สัญลักษณ์ประจำมหาวิทยาลัย

คณะ

  • คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
  • คณะครุศาสตร์
  • คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
  • คณะวิทยาการจัดการ
  • บัณทิตวิทยาลัย
  • วิทยาลัยนานาชาติ

แหล่งข้อมูลอื่น