ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาพกราฟิกส์แรสเตอร์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
CommonsDelinker (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ภาพ Rgb-raster-image2.png ด้วย Rgb-raster-image.png จากวิกิพีเดียคอมมอนส์
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด +แจ้งรอตรวจสอบด้วยบอต
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{รอการตรวจสอบ}}
[[ภาพ:Rgb-raster-image.png|thumb|300px|สมมุติว่าหน้ายิ้มใหญ่ หรือ บิ๊กสไมลีย์ที่มุมบนของภาพคือภาพบิตแมป RGB เมื่อขยายมันแลดูเหมือนหน้ายิ้มใหญ่ทางขวามือ แต่ละสี่เหลี่ยมคือจุดภาพ หรือ Pixel เมื่อขยายใหญ่ขึ้นอีกจะเห็นจุดภาพ 3 จุดซึ่งใส่สีด้วยการเพิ่มค่าสีแดง เขียวและน้ำเงิน]]
[[ภาพ:Rgb-raster-image.png|thumb|300px|สมมุติว่าหน้ายิ้มใหญ่ หรือ บิ๊กสไมลีย์ที่มุมบนของภาพคือภาพบิตแมป RGB เมื่อขยายมันแลดูเหมือนหน้ายิ้มใหญ่ทางขวามือ แต่ละสี่เหลี่ยมคือจุดภาพ หรือ Pixel เมื่อขยายใหญ่ขึ้นอีกจะเห็นจุดภาพ 3 จุดซึ่งใส่สีด้วยการเพิ่มค่าสีแดง เขียวและน้ำเงิน]]



รุ่นแก้ไขเมื่อ 05:16, 12 มิถุนายน 2551

สมมุติว่าหน้ายิ้มใหญ่ หรือ บิ๊กสไมลีย์ที่มุมบนของภาพคือภาพบิตแมป RGB เมื่อขยายมันแลดูเหมือนหน้ายิ้มใหญ่ทางขวามือ แต่ละสี่เหลี่ยมคือจุดภาพ หรือ Pixel เมื่อขยายใหญ่ขึ้นอีกจะเห็นจุดภาพ 3 จุดซึ่งใส่สีด้วยการเพิ่มค่าสีแดง เขียวและน้ำเงิน

ภาพกราฟิกส์แรสเตอร์ (raster graphics) หรือ ภาพบิตแมป (bitmap) หรือ คือภาพที่ประกอบด้วยจุดสีต่างๆที่มีจำนวนคงที่ตายตัว มีข้อดีคือ เหมาะกับภาพที่ต้องการระบายสี สร้างสี กำหนดสีที่ต้องการความละเอียดได้ง่าย ข้อเสีย คือเมื่อมีจุดสีที่คงที่นั่น ทำให้เวลาขยายภาพนั้นจะมีความละเอียดน้อยลง เเละถ้าเพิ่มขนาดความละเอียดให้เเก่ภาพ จะทำให้ไฟล์ภาพมีขนาดที่ใหญ่ เเละเปลืองพื้นที่ความจำ ในระบบปฏิบัติการวินโดวส์ ไฟล์ภาพพวกนี้ได้เเก่ไฟล์สกุล BMP, TIF, JPG, PCT เป็นต้น โปรแกรมที่ใช้ เช่น โฟโต้ชอป

ลักษณะเฉพาะ

  1. รูปแบบการเขียนข้อมูลประมวลผลเชิงกราฟิกที่ใช้ตารางสี่เหลี่ยม หรือ Pixel (จุดภาพ หรือหน่วยของภาพ)ซึ่งสามารถเคลื่อนตำแหน่งได้ ผกผันค่าที่ตำแหน่งนั้นไปกลับได้ หรือ รวมค่าที่ตำแหน่งต่างๆ ไว้ด้วยกันได้ แล้วแสดงผลออกมา
  2. การแสดงภาพกราฟิกโดยใช้กลุ่มของจุดเล็กๆ แยกต่างหากกัน หรือเรียกว่า แผนที่บิต (Bitmap) ความละเอียดของภาพจะจำกัดโดยลักษณะของจอภาพหรืออุปกรณ์ เรียกได้อีกอย่างว่า บิตแมพกราฟิก
  3. ภาพดิจิทัลที่เก็บข้อมูลเป็นอาร์เรย์ของจุดภาพสำหรับแสดงและแก้ไขปรับปรุงภาพ ในข้อมูลแรสเตอร์จะไม่มีเส้นตรง วงกลม หรือ รูปหลายเหลี่ยม แต่จะมีจุดภาพหลาย ๆ จับกลุ่มเกิดเป็นลักษณะรูปที่ต้องการ
  4. วิธีการสร้างภาพเป็นกลุ่มของจุดที่เป็นอิสระกัน ขนาดเล็กๆ (จุดภาพ) เรียงลำดับกันลักษณะของแถว กับสดมภ์
  5. กระบวนการสร้างแผนที่บิต ในการสร้างแฟ้มภาพดิจิทัลโดยมีการเก็บข้อมูลแต่ละบิตของภาพต้นฉบับแทนการเก็บเป็นเส้นตรงระหว่างจุด แฟ้มแบบแรสเตอร์จะเก็บรายละเอียดข้อมูลและความลึกสีได้สูง แต่จะแก้ไขดัดแปลงยากหากไม่ต้องการให้สูญเสียคุณภาพ ส่วนมากเครื่องแสกนจะนำเข้าภาพเป็นภาพแรสเตอร์
  6. รูปภาพที่กำหนดเป็นเซตของจุดภาพ หรือ จุดในรูปแบบของแถว และ สดมภ์

ดูเพิ่ม