ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อรรถบำบัด"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Drgarden (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
ใส่ลิงก์ข้ามภาษาด้วยบอต
บรรทัด 17: บรรทัด 17:
[[ca:Logopèdia]]
[[ca:Logopèdia]]
[[cs:Logopedie]]
[[cs:Logopedie]]
[[de:Logopädie]]
[[de:Phoniatrie]]
[[de:Phoniatrie]]
[[en:Speech and language pathology]]
[[en:Speech and language pathology]]
[[eo:Logopedio]]
[[eo:Logopedio]]
[[es:Logopedia]]
[[es:Logopedia]]
[[fa: گفتار درمانی]]
[[fa:گفتار درمانی]]
[[fi:Logopedia]]
[[fi:Logopedia]]
[[fr:Orthophoniste]]
[[fr:Phoniatrie]]
[[fr:Phoniatrie]]
[[he:קלינאי תקשורת]]
[[it:Logopedia]]
[[it:Logopedia]]
[[ja:言語聴覚療法]]
[[ja:言語聴覚療法]]
บรรทัด 33: บรรทัด 32:
[[pt:Fonoaudiologia]]
[[pt:Fonoaudiologia]]
[[ru:Логопедия]]
[[ru:Логопедия]]
[[sr:Логопедија]]
[[sv:Logoped]]
[[sv:Logoped]]
[[uk:Логопедія]]
[[zh:言語治療]]
[[zh:言語治療]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 08:12, 20 พฤษภาคม 2551

นักแก้ไขการพูด (speech language pathologist) คือ ผู้ที่ปฏิบัติงานเกี่ยวกับการวินิจฉัย การบำบัดรักษาและฟื้นฟูผู้ป่วยที่มีความผิดปกติทางภาษาและการพูด เช่น พูดไม่ได้ พูดไม่ชัด เสียงผิดปกติ ปากแหว่งเพดานโหว่ ประสาทหูพิการ มีความบกพร่องด้านสติปัญญา ผู้ป่วยที่ถูกตัดกล่องเสียง ผู้ป่วยสมองพิการ

บทบาทของนักแก้ไขการพูดในทีมเวชศาสตร์ฟื้นฟู คือ

  1. ประเมินสภาพความผิดปกติ ทดสอบความสามารถทางภาษาและการพูดรวมถึงการกลืน
  2. แยกประเภทความผิดปกติ และให้การบำบัดรักษาแก้ไขและฟื้นฟูสมรรถภาพ ครอบคลุมทุกประเภทของความผิดปกติทางภาษาและการพูด
  3. ให้คำปรึกษาแนะนำแก่ผู้ปกครอง ญาติ ผู้ดูแล หรือผู้เกี่ยวข้องให้มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับความผิดปกติของผู้ป่วยและเรียนรู้วิธีการรักษาที่ถูกต้อง
  4. คัดเลือกและประยุกต์ ใช้เครื่องช่วย อุปกรณ์เสริมวัสดุ เพื่อทดแทนให้เหมาะสมกับสภาพของผู้ป่วย
  5. เผยแพร่ความรู้เพื่อป้องกันความผิดปกติทางภาษาและการพูด