ผลต่างระหว่างรุ่นของ "รัฐบาลเงา"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
'''รัฐบาลเงา''' (Shadow Government) หรือ '''คณะรัฐมนตรีเงา''' (Shadow Cabinet) คือกลุ่มนักการเมืองอาวุโสที่เป็นกระบอกเสียงของฝ่ายค้าน ใน[[ระบบการเมืองอังกฤษ]]ที่เรียกว่า ''[[ระบบเวสต์มินสเตอร์]]'' (Westminster System) ซึ่งอยู่ภายใต้การนำของ[[ผู้นำฝ่ายค้าน]] ที่ได้รวมตัวกันตั้งตนเป็น '''รัฐมนตรีเงา''' ประกบรัฐมนตรีตัวจริงของรัฐบาล และเมื่อฝ่ายพรรคฝ่ายค้านมีโอกาสได้เป็นรัฐบาล รัฐมนตรีเงา มักได้รับการแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรี หน้าที่ความรับผิดชอบของ รัฐมนตรีเงา คือการทำหน้าที่วิพากษ์วิจารณ์และติติงการทำงานของรัฐบาลและรัฐมนตรีจริง วิพากษ์วิจารณ์และติติงการออกหรือการแก้ไขกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการบริหารงาน ตลอดจนให้ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับแนวนโยบายทางเลือกต่างๆ
'''รัฐบาลเงา''' (Shadow Government) หรือ '''คณะรัฐมนตรีเงา''' (Shadow Cabinet) คือกลุ่มนักการเมืองอาวุโสที่เป็นกระบอกเสียงของฝ่ายค้าน ใน[[ระบบการเมืองอังกฤษ]]ที่เรียกว่า ''[[ระบบเวสต์มินสเตอร์]]'' (Westminster System) ซึ่งอยู่ภายใต้การนำของ[[ผู้นำฝ่ายค้าน]] ที่ได้รวมตัวกันตั้งตนเป็น '''รัฐมนตรีเงา''' ประกบรัฐมนตรีตัวจริงของรัฐบาล และเมื่อฝ่ายพรรคฝ่ายค้านมีโอกาสได้เป็นรัฐบาล รัฐมนตรีเงา มักได้รับการแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรี หน้าที่ความรับผิดชอบของ รัฐมนตรีเงา คือการทำหน้าที่วิพากษ์วิจารณ์และติติงการทำงานของรัฐบาลและรัฐมนตรีจริง วิพากษ์วิจารณ์และติติงการออกหรือการแก้ไขกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการบริหารงาน ตลอดจนให้ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับแนวนโยบายทางเลือกต่างๆ


== รัฐบาลเงาในประเทศต่างๆ ==
ใน[[อังกฤษ]]และ[[แคนาดา]] พรรคฝ่ายค้านหลัก โดยเฉพาะ คณะรัฐมนตรีเงา จะเรียกว่า ''ฝ่ายค้านผู้จงรักภักดีในสมเด็จพระราชินี'' (Her Majesty's Loyal Opposition) เหตุที่ใช้คำว่า ''ผู้จงรักภักดี'' นั้นเนื่องจากถึงแม้บทบาทของฝ่ายค้านคือการติติงคัดค้าน ''รัฐบาลในสมเด็จพระราชินี'' (Her Majesty's Government) แต่ฝ่ายค้านไม่ปฏิเสธสิทธิ์ของสมเด็จพระราชินีในราชบัลลังก์ (Her Majesty's right to the throne) ดังนั้นฝ่ายค้านจึงไม่ปฏิเสธความชอบธรรมของรัฐบาลในสมเด็จพระราชินี อย่างไรก็ตาม ในบางประเทศที่ใช้ระบบเวสต์มินสเตอร์ เช่น [[ออสเตรเลีย]] และ[[นิวซีแลนด์]] จะเรียกฝ่ายค้านเพียงว่า ''ฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร'' โดยละเว้นการกล่าวถึงสมเด็จพระราชินี พรรคการเมืองในระบอบรัฐสภาบางพรรค เช่น [[พรรคแรงงาน (สหราชอาณาจักร)|พรรคแรงงานของอังกฤษ]] และ[[พรรคแรงงานออสเตรเลีย]]จะมีการออกเสียงเลือกรัฐมนตรีเงาโดยการหย่อนบัตรคะแนนเลือกผู้สมควรเป็นรัฐมนตรีเงา จากนั้นหัวหน้าพรรคฝ่ายค้านจะเป็นผู้กำหนดขอบเขตการปฏิบัติหน้าที่ของรัฐมนตรีเงาที่ได้รับเลือก แต่สำหรับพรรคการเมืองในระบอบรัฐสภาในประเทศอื่นนอกเหนือจากนี้ให้อำนาจสิทธิ์ขาดแก่หัวหน้าพรรคฝ่ายค้านเป็นผู้เจาะจงเลือกแต่ผู้เดียวก็มี
ใน[[อังกฤษ]]และ[[แคนาดา]] พรรคฝ่ายค้านหลัก โดยเฉพาะ คณะรัฐมนตรีเงา จะเรียกว่า ''ฝ่ายค้านผู้จงรักภักดีในสมเด็จพระราชินี'' (Her Majesty's Loyal Opposition) เหตุที่ใช้คำว่า ''ผู้จงรักภักดี'' นั้นเนื่องจากถึงแม้บทบาทของฝ่ายค้านคือการติติงคัดค้าน ''รัฐบาลในสมเด็จพระราชินี'' (Her Majesty's Government) แต่ฝ่ายค้านไม่ปฏิเสธสิทธิ์ของสมเด็จพระราชินีในราชบัลลังก์ (Her Majesty's right to the throne) ดังนั้นฝ่ายค้านจึงไม่ปฏิเสธความชอบธรรมของรัฐบาลในสมเด็จพระราชินี อย่างไรก็ตาม ในบางประเทศที่ใช้ระบบเวสต์มินสเตอร์ เช่น [[ออสเตรเลีย]] และ[[นิวซีแลนด์]] จะเรียกฝ่ายค้านเพียงว่า ''ฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร'' โดยละเว้นการกล่าวถึงสมเด็จพระราชินี พรรคการเมืองในระบอบรัฐสภาบางพรรค เช่น [[พรรคแรงงาน (สหราชอาณาจักร)|พรรคแรงงานของอังกฤษ]] และ[[พรรคแรงงานออสเตรเลีย]]จะมีการออกเสียงเลือกรัฐมนตรีเงาโดยการหย่อนบัตรคะแนนเลือกผู้สมควรเป็นรัฐมนตรีเงา จากนั้นหัวหน้าพรรคฝ่ายค้านจะเป็นผู้กำหนดขอบเขตการปฏิบัติหน้าที่ของรัฐมนตรีเงาที่ได้รับเลือก แต่สำหรับพรรคการเมืองในระบอบรัฐสภาในประเทศอื่นนอกเหนือจากนี้ให้อำนาจสิทธิ์ขาดแก่หัวหน้าพรรคฝ่ายค้านเป็นผู้เจาะจงเลือกแต่ผู้เดียวก็มี


ประเทศที่มีระบบรัฐบาลเงามีทั้งประเทศใน[[เครือจักรภพ]]ที่ใช้การเมืองระบบเวสต์มินสเตอร์ เช่น ประเทศแคนดา ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ [[อินเดีย]] [[จาไมกา]] [[มาเลเซีย]] [[สิงคโปร์]]และ[[มอลตา]] ประเทศที่ใช้[[กึ่งประธานาธิบดี|ระบอบกึ่งประธานาธิบดี]] เช่น [[ฝรั่งเศส]] ประเทศที่เปลี่ยนมาใช้การปกครองแบบรัฐสภา เช่น [[ญี่ปุ่น]] รวมทั้งประเทศประชาธิปไตยเกิดใหม่ เช่น [[โปแลนด์]] [[ยูเครน]] [[โคโซโว]] เป็นต้น
ประเทศที่มีระบบรัฐบาลเงามีทั้งประเทศใน[[เครือจักรภพ]]ที่ใช้การเมืองระบบเวสต์มินสเตอร์ เช่น ประเทศแคนาดา ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ [[อินเดีย]] [[จาเมกา]] [[มาเลเซีย]] [[สิงคโปร์]]และ[[มอลตา]] ประเทศที่ใช้[[กึ่งประธานาธิบดี|ระบอบกึ่งประธานาธิบดี]] เช่น [[ฝรั่งเศส]] ประเทศที่เปลี่ยนมาใช้การปกครองแบบรัฐสภา เช่น [[ญี่ปุ่น]] รวมทั้งประเทศประชาธิปไตยเกิดใหม่ เช่น [[โปแลนด์]] [[ยูเครน]] [[โคโซโว]] เป็นต้น


== รัฐบาลเงาในประเทศไทย ==
== รัฐบาลเงาในประเทศไทย ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 07:14, 14 พฤษภาคม 2551

รัฐบาลเงา (Shadow Government) หรือ คณะรัฐมนตรีเงา (Shadow Cabinet) คือกลุ่มนักการเมืองอาวุโสที่เป็นกระบอกเสียงของฝ่ายค้าน ในระบบการเมืองอังกฤษที่เรียกว่า ระบบเวสต์มินสเตอร์ (Westminster System) ซึ่งอยู่ภายใต้การนำของผู้นำฝ่ายค้าน ที่ได้รวมตัวกันตั้งตนเป็น รัฐมนตรีเงา ประกบรัฐมนตรีตัวจริงของรัฐบาล และเมื่อฝ่ายพรรคฝ่ายค้านมีโอกาสได้เป็นรัฐบาล รัฐมนตรีเงา มักได้รับการแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรี หน้าที่ความรับผิดชอบของ รัฐมนตรีเงา คือการทำหน้าที่วิพากษ์วิจารณ์และติติงการทำงานของรัฐบาลและรัฐมนตรีจริง วิพากษ์วิจารณ์และติติงการออกหรือการแก้ไขกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการบริหารงาน ตลอดจนให้ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับแนวนโยบายทางเลือกต่างๆ

รัฐบาลเงาในประเทศต่างๆ

ในอังกฤษและแคนาดา พรรคฝ่ายค้านหลัก โดยเฉพาะ คณะรัฐมนตรีเงา จะเรียกว่า ฝ่ายค้านผู้จงรักภักดีในสมเด็จพระราชินี (Her Majesty's Loyal Opposition) เหตุที่ใช้คำว่า ผู้จงรักภักดี นั้นเนื่องจากถึงแม้บทบาทของฝ่ายค้านคือการติติงคัดค้าน รัฐบาลในสมเด็จพระราชินี (Her Majesty's Government) แต่ฝ่ายค้านไม่ปฏิเสธสิทธิ์ของสมเด็จพระราชินีในราชบัลลังก์ (Her Majesty's right to the throne) ดังนั้นฝ่ายค้านจึงไม่ปฏิเสธความชอบธรรมของรัฐบาลในสมเด็จพระราชินี อย่างไรก็ตาม ในบางประเทศที่ใช้ระบบเวสต์มินสเตอร์ เช่น ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด์ จะเรียกฝ่ายค้านเพียงว่า ฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร โดยละเว้นการกล่าวถึงสมเด็จพระราชินี พรรคการเมืองในระบอบรัฐสภาบางพรรค เช่น พรรคแรงงานของอังกฤษ และพรรคแรงงานออสเตรเลียจะมีการออกเสียงเลือกรัฐมนตรีเงาโดยการหย่อนบัตรคะแนนเลือกผู้สมควรเป็นรัฐมนตรีเงา จากนั้นหัวหน้าพรรคฝ่ายค้านจะเป็นผู้กำหนดขอบเขตการปฏิบัติหน้าที่ของรัฐมนตรีเงาที่ได้รับเลือก แต่สำหรับพรรคการเมืองในระบอบรัฐสภาในประเทศอื่นนอกเหนือจากนี้ให้อำนาจสิทธิ์ขาดแก่หัวหน้าพรรคฝ่ายค้านเป็นผู้เจาะจงเลือกแต่ผู้เดียวก็มี

ประเทศที่มีระบบรัฐบาลเงามีทั้งประเทศในเครือจักรภพที่ใช้การเมืองระบบเวสต์มินสเตอร์ เช่น ประเทศแคนาดา ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ อินเดีย จาเมกา มาเลเซีย สิงคโปร์และมอลตา ประเทศที่ใช้ระบอบกึ่งประธานาธิบดี เช่น ฝรั่งเศส ประเทศที่เปลี่ยนมาใช้การปกครองแบบรัฐสภา เช่น ญี่ปุ่น รวมทั้งประเทศประชาธิปไตยเกิดใหม่ เช่น โปแลนด์ ยูเครน โคโซโว เป็นต้น

รัฐบาลเงาในประเทศไทย

ถึงแม้แนวคิดเรื่องรัฐบาลเงา จะไม่ใช่เรื่องใหม่ในประเทศที่ปกครองแบบประชาธิปไตยแบบรัฐสภา แต่สำหรับประเทศไทย เริ่มมีการจัดตั้ง ครม.เงา เป็นครั้งแรกในเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2551 เมื่อ นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ผู้นำฝ่ายค้าน พรรคประชาธิปัตย์ ได้ประกาศจัดตั้ง รัฐบาลเงา เพื่อติดตามการทำงานของรัฐบาลผสมที่มีพรรคพลังประชาชนเป็นแกนนำ และมีนายสมัคร สุนทรเวชเป็นนายกรัฐมนตรี

รายชื่อคณะรัฐมนตรีเงาของพรรคประชาธิปัตย์

เมื่อวันที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2551 ที่ประชุมพรรคประชาธิปัตย์ได้จัดตั้งคณะรัฐมนตรีเงา ดังนี้ [1]

นอกจากนี้พรรคประชาธิปัตย์ยังได้แต่งตั้งตำแหน่งเพิ่มเติมคือ

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  1. "'ปชป.' แถลงรายชื่อ 'ครม.เงา' ย้ำ เพื่อติดตามการทำงานของรัฐบาลอย่างสร้างสรรค์ เพื่อประโยชน์ของประชาชน". พรรคประชาธิปัตย์. 8 ก.พ. 2551. สืบค้นเมื่อ 10 ก.พ. 2551. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)