ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กระดูกน่อง"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Drgarden (คุย | ส่วนร่วม)
หน้าใหม่: {{กล่องข้อมูล กระดูก | Name = กระดูกน่อง<br> (Fibula) | Latin = | GraySubject = 62 | G...
 
Escarbot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: te:బహిర్జంఘిక
บรรทัด 59: บรรทัด 59:
[[de:Wadenbein]]
[[de:Wadenbein]]
[[en:Fibula]]
[[en:Fibula]]
[[es:Peroné]]
[[eo:Fibulo]]
[[eo:Fibulo]]
[[es:Peroné]]
[[fi:Pohjeluu]]
[[fr:Fibula]]
[[fr:Fibula]]
[[it:Perone]]
[[he:שוקית]]
[[he:שוקית]]
[[it:Perone]]
[[ja:腓骨]]
[[la:Fibula]]
[[la:Fibula]]
[[lt:Šeivikaulis]]
[[lt:Šeivikaulis]]
[[nl:Kuitbeen]]
[[nl:Kuitbeen]]
[[ja:腓骨]]
[[no:Fibula (anatomi)]]
[[no:Fibula (anatomi)]]
[[pl:Kość strzałkowa]]
[[pl:Kość strzałkowa]]
บรรทัด 73: บรรทัด 74:
[[sk:Ihlica (kosť)]]
[[sk:Ihlica (kosť)]]
[[sl:Mečnica]]
[[sl:Mečnica]]
[[fi:Pohjeluu]]
[[sv:Vadben]]
[[sv:Vadben]]
[[te:బహిర్జంఘిక]]
[[tr:Fibula]]
[[tr:Fibula]]
[[uk:Малогомілкова кістка]]
[[uk:Малогомілкова кістка]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 03:14, 24 เมษายน 2551

กระดูกน่อง
(Fibula)
กระดูกของรยางค์ล่าง
ส่วนปลายของกระดูกน่องข้างขวา มุมมองด้านใกล้กลาง
ตัวระบุ
MeSHD005360
TA98A02.5.07.001
TA21427
FMA24479
ศัพท์ทางกายวิภาคของกระดูก

กระดูกน่อง หรือ กระดูกฟิบูลา เป็นกระดูกที่อยู่ด้านข้างของกระดูกแข้ง (tibia) ซึ่งกระดูกสองชิ้นนี้มีข้อต่อกันทางด้านบนและด้านล่าง กระดูกนี้มีขนาดเล็กกว่ากระดูกแข้ง เมื่อเทียบสัดส่วนกับความยาวจะพบว่ากระดูกน่องเป็นกระดูกที่ผอมที่สุดในบรรดากระดูกยาวทั้งหมด ส่วนต้นกระดูกมีขนาดเล็ก วางตัวอยู่ด้านหลังของหัวกระดูกแข้งใต้ต่อระดับข้อเข่า และไม่ได้เป็นกระดูกองค์ประกอบของข้อเข่า ส่วนปลายของกระดูกนี้เอียงยื่นไปทางด้านหน้าเล็กน้อย ปลายล่างของกระดูกนี้ยื่นลงต่ำกว่าปลายกระดูกแข้ง สร้างเป็นส่วนด้านข้างของข้อเท้า

องค์ประกอบ

กระดูกน่องประกอบด้วยส่วนต่างๆ ดังนี้

หลอดเลือดที่เลี้ยง

หลอดเลือดที่เลี้ยงกระดูกน่องมีความสำคัญในการวางแผนผ่าตัดขนถ่ายเนื้อเยื่ออิสระ (free tissue transfer) เนื่องจากกระดูกนี้มักจะใช้ในการศัลยกรรมตกแต่งกระดูกขากรรไกรล่าง (mandible) ส่วนกลางของกระดูกน่องถูกเลี้ยงโดยหลอดเลือดสารอาหารขนาดใหญ่จากหลอดเลือดแดงพีโรเนียล (peroneal artery) และยังได้รับสารอาหารที่กำซาบจากเยื่อหุ้มกระดูก (periosteum) ซึ่งรับสารอาหารมาจากแขนงเล็กๆ จำนวนมากของหลอดเลือดแดงพีโรเนียล ส่วนหัวของกระดูกและเอพิไฟซิส (epiphysis) ได้รับเลือดมาจากแขนงของหลอดเลือดแดงแอนทีเรียร์ทิเบียล (anterior tibial artery) การนำกระดูกมาใช้ในการศัลยกรรมจะใช้บริเวณตรงกลาง 1/3 และเก็บส่วนปลายกระดูกเอาไว้ (ส่วนต้น 4 ซม. และส่วนปลาย 6 ซม.)

การกลายเป็นกระดูก

กระดูกน่องนี้เกิดกระบวนการสร้างกระดูก (ossified) จากศูนย์เริ่มสร้างกระดูก 3 บริเวณ บริเวณแรกอยู่ที่ส่วนตัวหรือส่วนกลางของกระดูกน่อง อีกสองบริเวณอยู่ที่ปลายหัวกระดูกทั้งสอง การสร้างกระดูกเริ่มขึ้นที่ตัวกระดูกประมาณเมื่อทารกในครรภ์มีอายุประมาณ 8 สัปดาห์ แล้วจึงขยายไปยังปลายกระดูก เมื่อคลอดส่วนปลายกระดูกจะยังเป็นกระดูกอ่อน

การสร้างกระดูกที่ปลายล่างเริ่มขึ้นเมื่ออายุ 2 ปี และที่ปลายส่วนต้นประมาณอายุ 4 ปี เอพิไฟซิสส่วนล่างซึ่งเป็นบริเวณที่เกิดการกลายเป็นกระดูกเป็นบริเวณแรกนั้นจะเชื่อมกับบริเวณตัวกระดูกเมื่ออายุประมาณ 12 ปี และเอพิไฟซิสส่วนบนจะเชื่อมเมื่ออายุ 25 ปี

ภาพอื่นๆ

แหล่งข้อมูลอื่น