ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปฏิกิริยาแทนที่ตำแหน่งเดียว"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
AlleborgoBot (คุย | ส่วนร่วม)
robot Modifying: zh:置換反應
JAnDbot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต แก้ไข: zh:置换反应
บรรทัด 19: บรรทัด 19:
[[cs:Jednoduchá substituce]]
[[cs:Jednoduchá substituce]]
[[en:Single displacement reaction]]
[[en:Single displacement reaction]]
[[zh:置]]
[[zh:置]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 18:41, 10 เมษายน 2551

ปฏิกิริยาแทนที่ตำแหน่งเดียว (อังกฤษ:single-displacement reaction) คือปฏิกิริยาเคมีที่เกิดขึ้นเมื่อธาตุเคมีตัวหนึ่งเข้าไปแทนที่ธาตุเคมีอีกตัวหนึ่งในสารประกอบใดสารประกอบหนึ่งซึ่งสามารถเขียนเป็นสมการได้ดังนี้
ก + ขค → กค + ข
ในสมการข้างบนธาตุ ทำปฏิกิริยาเคมีกับสารประกอบ ขค เกิดเป็นสารประกอบ กค และธาตุ อธิบายว่าปฏิกิริยานี้จะเกิดได้ง่ายเมื่อธาตุ มีความไวต่อปฏิกิริยาเคมีมากกว่าธาตุบางครั้ง และ มีประจุไฟฟ้าไม่เท่ากันก็ได้ดังนั้นการทำให้สมการสมดุลจึงมีความจำเป็น ยกตัวอย่างเช่น ปฏิกิริยาเคมีระหว่างแคลเซียมคลอไรด์(CaCl2)กับโซเดียม(Na)เกิดเป็นโซเดียมคลอไรด์(NaCl)และแคลเซียม(Ca)ดังสมการนี้

CaCl2 + 2Na → Ca + 2NaCl

เพื่อทำให้สมการสมดุลแคลเซียมคลอไรด์หนึ่งโมเลกุลจะต้องใช้โซเดียม 2 อะตอมจึงจะได้สารประกอบ โซเดียมคลอไรด์ 2 โมเลกุลและแคลเซียม 1 อะตอม

ดูเพิ่ม

ปฏิกิริยาเคมีในสารอนินทรีย์มีด้วยกัน 4 ชนิดคือ:

  1. ปฏิกิริยารวมตัว (combination reaction)
  2. ปฏิกิริยาแตกตัว (decomposition reaction)
  3. ปฏิกิริยาแทนที่ตำแหน่งเดียว (single displacement reaction)
  4. ปฏิกิริยาแทนที่คู่ซึ่งกันและกัน (double displacement reaction)