ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วิทยาลัยพลังงานทดแทนและสมาร์ตกริดเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยนเรศวร"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Wonton2ton (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Wonton2ton (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 12: บรรทัด 12:
}}
}}


'''วิทยาลัย[[พลังงานทดแทน]] [[มหาวิทยาลัยนเรศวร]]''' ก่อตั้งขึ้นในปี [[พ.ศ. 2546]] โดยมีหน้าที่วิจัยและพัฒนาด้าน[[พลังงานทดแทน]] โดยเน้น[[พลังงานแสงอาทิตย์]] [[พลังงานน้ำ]] [[พลังงานลม]] [[ชีวมวล]] [[พลังงานความร้อนใต้พิภพ]] และพลังงานอื่นๆ นอกจากนี้ยังเป็นสถาบันการศึกษาและวิจัยขั้นสูงที่ผลิตบัณณิตในระดับปริญญาโท ปริญญาเอก และการทำวิจัยหลังปริญญาเอก
'''วิทยาลัย[[พลังงานทดแทน]] [[มหาวิทยาลัยนเรศวร]]''' ก่อตั้งขึ้นในปี [[พ.ศ. 2546]] โดยมีหน้าที่วิจัยและพัฒนาด้าน[[พลังงานทดแทน]] โดยเน้น[[พลังงานแสงอาทิตย์]] [[พลังงานน้ำ]] [[พลังงานลม]] [[ชีวมวล]] [[พลังงานความร้อนใต้พิภพ]] และพลังงานอื่นๆ นอกจากนี้ยังเป็นสถาบันการศึกษาและวิจัยขั้นสูงที่ผลิตบัณฑิตในระดับปริญญาโท ปริญญาเอก และการทำวิจัยหลังปริญญาเอก


== ประวัติ ==
== ประวัติ ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 22:11, 4 เมษายน 2551

วิทยาลัยพลังงานทดแทน
มหาวิทยาลัยนเรศวร
School of Renewable Energy Technology
Naresuan University
ตราสัญลักษณ์วิทยาลัยพลังงานทดแทน มหาวิทยาลัยนเรศวร
สถาปนา1 ตุลาคม พ.ศ. 2546
คณบดีรศ.ดร.วัฒนพงษ์ รักษ์วิเชียร
ที่อยู่
มาสคอต
รังสีดวงอาทิตย์และตัวอักษรย่อ SERT
เว็บไซต์www.sert.nu.ac.th

วิทยาลัยพลังงานทดแทน มหาวิทยาลัยนเรศวร ก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2546 โดยมีหน้าที่วิจัยและพัฒนาด้านพลังงานทดแทน โดยเน้นพลังงานแสงอาทิตย์ พลังงานน้ำ พลังงานลม ชีวมวล พลังงานความร้อนใต้พิภพ และพลังงานอื่นๆ นอกจากนี้ยังเป็นสถาบันการศึกษาและวิจัยขั้นสูงที่ผลิตบัณฑิตในระดับปริญญาโท ปริญญาเอก และการทำวิจัยหลังปริญญาเอก

ประวัติ

มหาวิทยาลัยนเรศวรได้ดำเนินการจัดตั้ง "ศูนย์วิจัยและฝึกอบรมพลังงานแสงอาทิตย์ (Solar Energy Research and Training)" เมื่อปี พ.ศ. 2535 และได้ปรับสถานะของหน่วยงานเป็น "วิทยาลัยพลังงานทดแทน มหาวิทยาลัยนเรศวร" ในวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2546


หลักสูตร

ระดับปริญญาโท

ระดับปริญญาเอก

ไฟล์:Sert.gif
สวนพลังงาน วิทยาลัยพลังงานทดแทน มหาวิทยาลัยนเรศวร

สวนพลังงาน

ภายในวิทยาลัยพลังงานทดแทน มีสวนพลังงานตัวอย่างที่ใหญ่ที่สุดในเอเชีย[1] โดยเป็นแหล่งสาธิตการใช้งานจริงของระบบพลังงานทดแทน และมีศูนย์ธุรกิจที่เป็นแหล่งของความร่วมมือกับหน่วยงานต่างๆทั้งภาครัฐ และเอกชน ในการดำเนินการส่งเสริมธุรกิจทางด้านพลังงานทดแทน ซึ่งเปิดให้ประชาชนทั่วไปได้เยี่ยมชมโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย โดยเปิดวันจันทร์ - ศุกร์ เวลา 9.00 น. - 17.00 น.

อ้างอิง

  1. สวนพลังงาน วิทยาลัยพลังงานทดแทน มหาวิทยาลัยนเรศวร

ดูเพิ่ม

แหล่งข้อมูลอื่น