ผลต่างระหว่างรุ่นของ "หลอดฟลูออเรสเซนต์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Anonimeco (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 8421837 สร้างโดย 202.176.126.43 (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ทำกลับ
Pollawat1 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 5: บรรทัด 5:
'''หลอดฟลูออเรสเซนต์''', '''หลอดเรืองแสง''', '''หลอดวาวแสง''' ({{lang-en|fluorescent tube}}) หรือที่เรียกกันติดปากว่า'''หลอดนีออน''' เป็นหลอดไฟฟ้าระบบปล่อยประจุ ที่บรรจุไอ[[ปรอท]]ความดันต่ำไว้<ref name="พรรณชลัท-2548">พรรณชลัท สุริโยธิน. ''วัสดุและการก่อสร้าง : หลอดไฟฟ้า''. พิมพ์ครั้งที่ 2 กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548. ISBN 974-13-2978-4.</ref>
'''หลอดฟลูออเรสเซนต์''', '''หลอดเรืองแสง''', '''หลอดวาวแสง''' ({{lang-en|fluorescent tube}}) หรือที่เรียกกันติดปากว่า'''หลอดนีออน''' เป็นหลอดไฟฟ้าระบบปล่อยประจุ ที่บรรจุไอ[[ปรอท]]ความดันต่ำไว้<ref name="พรรณชลัท-2548">พรรณชลัท สุริโยธิน. ''วัสดุและการก่อสร้าง : หลอดไฟฟ้า''. พิมพ์ครั้งที่ 2 กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548. ISBN 974-13-2978-4.</ref>


เมื่อกระแส[[ไฟฟ้า]]ไหลผ่านหลอด จะกระตุ้นให้อนุภาคปรอทปล่อย[[รังสีเหนือม่วง]]ออกมา เมื่อรังสีนี้กระทบกับ[[สารเรืองแสง]]ที่ฉาบไว้ด้านในตัวหลอด สารเรืองแสงจะเปล่ง[[แสง]]สว่างที่มองเห็นได้ออกมา<ref name="พรรณชลัท-2548"/> และเนื่องจากไม่ได้เปล่งแสงโดยอาศัยความร้อน จึงมีประสิทธิภาพในการใช้พลังงานมากกว่า[[หลอดไฟไส้]]
เมื่อกระแส[[ไฟฟ้า]]ไหลผ่านหลอด จะกระตุ้นให้อนุภาคปรอทปล่อย[[รังสีเหนือม่วง]]ออกมา เมื่อรังสีนี้กระทบกับ[[สารเรืองแสง]]ที่ฉาบไว้ด้านในตัวหลอด สารเรืองแสงจะเปล่ง[[แสง]]สว่างที่มองเห็นได้ออกมา<ref name="พรรณชลัท-2548"/> และเนื่องจากไม่ได้เปล่งแสงโดยอาศัยความร้อน จึงมีประสิทธิภาพในการใช้พลังงานมากกว่า[[หลอดไฟไส้]] ซึ่งหลอดฟลูออเรสเซนต์สามารถแบ่งออกได้เป็น 3 ชนิดดังนี้


==== ชนิดไส้อุ่น (Preheat Lamp) ====
การใช้งานปกติจะติดตั้งคู่กับ[[บัลลาสต์]]และสตาร์ทเตอร์ เนื่องจากหลอดฟลูออเรสเซนต์จะต้องมีการอุ่นให้ไส้หลอดร้อน<ref name="พรรณชลัท-2548"/> และใช้แรงดันไฟฟ้าสูงในการจุดหลอดให้ติดในตอนแรก
หลอดฟลูออเรสเซนต์ชนิดไส้อุ่น เป็นชนิดที่พบใช้มากในปัจจุบัน ซึ่งจะติดช้า เพราะจะต้องอุ่นไส้หลอดให้ร้อนก่อน ประกอบด้วยตัวหลอด สตาร์ทเตอร์ และบัลลาสท์ โดยมีบัลลาสท์ทำหน้าที่สร้างแรงดันไฟฟ้าให้สูง และสตาร์ทเตอร์ทำหน้าที่ตัดต่อวงจรสำหรับอุ่นไส้หลอด

==== ชนิดติดทันที (Instant Lamp) ====
หลอดฟลูออเรสเซนต์ชนิดติดทันที เป็นชนิดที่ติดเร็วกว่าชนิดแรก แต่ไม่ค่อยนิยมนัก ประกอบด้วยตัวหลอด และบัลลาสท์ ซึ่งจะไม่ใช้สตาร์ทเตอร์

==== ชนิดติดเร็ว (Rapid Lamp) ====
หลอดฟลูออเรสเซนต์ชนิดติดเร็ว หรือเรียก หลอดตะเกียบ เป็นชนิดที่กำลังได้รับความนิยมไม่แพ้ชนิดแรก ซึ่งจะรวมเอาคุณสมบัติของหลอดทั้งสองชนิดแรกมาผสานกัน โดยไม่ต้องใช้สตาร์ทเตอร์ แต่บัลลาสท์จะมีขดลวดพิเศษอีกชุดเพิ่มเข้ามาที่ช่วยให้ไส้หลอดอุ่นตลอดเวลา


==อ้างอิง==
==อ้างอิง==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 21:30, 4 กรกฎาคม 2565

หลอดฟลูออเรสเซนต์ชนิดต่างๆ จากบนลงล่าง: หลอดคอมแพคฟลูออเรสเซนต์ (หลอดตะเกียบ) 2 หลอด, หลอดฟลูออเรสเซนต์ธรรมดา 2 หลอด เทียบขนาดกับไม้ขีดไฟด้านซ้ายมือ
โถงทางเดินที่ติดตั้งหลอดฟลูออเรสเซนต์

หลอดฟลูออเรสเซนต์, หลอดเรืองแสง, หลอดวาวแสง (อังกฤษ: fluorescent tube) หรือที่เรียกกันติดปากว่าหลอดนีออน เป็นหลอดไฟฟ้าระบบปล่อยประจุ ที่บรรจุไอปรอทความดันต่ำไว้[1]

เมื่อกระแสไฟฟ้าไหลผ่านหลอด จะกระตุ้นให้อนุภาคปรอทปล่อยรังสีเหนือม่วงออกมา เมื่อรังสีนี้กระทบกับสารเรืองแสงที่ฉาบไว้ด้านในตัวหลอด สารเรืองแสงจะเปล่งแสงสว่างที่มองเห็นได้ออกมา[1] และเนื่องจากไม่ได้เปล่งแสงโดยอาศัยความร้อน จึงมีประสิทธิภาพในการใช้พลังงานมากกว่าหลอดไฟไส้ ซึ่งหลอดฟลูออเรสเซนต์สามารถแบ่งออกได้เป็น 3 ชนิดดังนี้

ชนิดไส้อุ่น (Preheat Lamp)

หลอดฟลูออเรสเซนต์ชนิดไส้อุ่น เป็นชนิดที่พบใช้มากในปัจจุบัน ซึ่งจะติดช้า เพราะจะต้องอุ่นไส้หลอดให้ร้อนก่อน ประกอบด้วยตัวหลอด สตาร์ทเตอร์ และบัลลาสท์ โดยมีบัลลาสท์ทำหน้าที่สร้างแรงดันไฟฟ้าให้สูง และสตาร์ทเตอร์ทำหน้าที่ตัดต่อวงจรสำหรับอุ่นไส้หลอด

ชนิดติดทันที (Instant Lamp)

หลอดฟลูออเรสเซนต์ชนิดติดทันที เป็นชนิดที่ติดเร็วกว่าชนิดแรก แต่ไม่ค่อยนิยมนัก ประกอบด้วยตัวหลอด และบัลลาสท์ ซึ่งจะไม่ใช้สตาร์ทเตอร์

ชนิดติดเร็ว (Rapid Lamp)

หลอดฟลูออเรสเซนต์ชนิดติดเร็ว หรือเรียก หลอดตะเกียบ เป็นชนิดที่กำลังได้รับความนิยมไม่แพ้ชนิดแรก ซึ่งจะรวมเอาคุณสมบัติของหลอดทั้งสองชนิดแรกมาผสานกัน โดยไม่ต้องใช้สตาร์ทเตอร์ แต่บัลลาสท์จะมีขดลวดพิเศษอีกชุดเพิ่มเข้ามาที่ช่วยให้ไส้หลอดอุ่นตลอดเวลา

อ้างอิง

  1. 1.0 1.1 พรรณชลัท สุริโยธิน. วัสดุและการก่อสร้าง : หลอดไฟฟ้า. พิมพ์ครั้งที่ 2 กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548. ISBN 974-13-2978-4.