ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การตั้งครรภ์นอกมดลูก"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Chainwit. (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
MuanN (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
 
บรรทัด 24: บรรทัด 24:
'''การตั้งครรภ์นอกมดลูก''' ({{lang-en|Ectopic pregnancy}}) เป็น[[Complications of pregnancy|อาการแทรกซ้อนในการตั้วครรภ์]]รูปแบบหนึ่งที่ซึ่งเอมบริโอฝังตัวนอก[[มดลูก]]<ref name=kirk2013/> อาการพื้นฐานประกอบด้วย [[abdominal pain|ปวดท้อง]] และ [[vaginal bleeding|เลือดออกในมดลูก]] อย่างไรก็ตามมีเพียงต่ำกว่า 50 เปอร์เซ็นต์ของผู้ป่วยที่จะพบทั้งสองอาการ<ref name=Crochet2013/> อาการเจ็บปวดอาจลามไปถึงบริเวณไหล่หากมีเบือดออกในช่องท้อง<ref name=Crochet2013/> เลือดออกรุนแรวอาจนำไปสู่[[tachycardia|อัตราการเต้นของหัวใจที่สูงขึ้น]], [[Syncope (medicine)|เป็นลม]], หรือ [[Shock (circulatory)|อาการช็อค]]<ref name=kirk2013/><ref name=Crochet2013/> โอกาสที่[[fetus|ทารก]]จะรอดนั้นต่ำมาก<ref>{{cite journal | vauthors = Zhang J, Li F, Sheng Q | s2cid = 35923100 | title = Full-term abdominal pregnancy: a case report and review of the literature | journal = Gynecologic and Obstetric Investigation | volume = 65 | issue = 2 | pages = 139–41 | date = 2008 | pmid = 17957101 | doi = 10.1159/000110015 }}</ref>
'''การตั้งครรภ์นอกมดลูก''' ({{lang-en|Ectopic pregnancy}}) เป็น[[Complications of pregnancy|อาการแทรกซ้อนในการตั้วครรภ์]]รูปแบบหนึ่งที่ซึ่งเอมบริโอฝังตัวนอก[[มดลูก]]<ref name=kirk2013/> อาการพื้นฐานประกอบด้วย [[abdominal pain|ปวดท้อง]] และ [[vaginal bleeding|เลือดออกในมดลูก]] อย่างไรก็ตามมีเพียงต่ำกว่า 50 เปอร์เซ็นต์ของผู้ป่วยที่จะพบทั้งสองอาการ<ref name=Crochet2013/> อาการเจ็บปวดอาจลามไปถึงบริเวณไหล่หากมีเบือดออกในช่องท้อง<ref name=Crochet2013/> เลือดออกรุนแรวอาจนำไปสู่[[tachycardia|อัตราการเต้นของหัวใจที่สูงขึ้น]], [[Syncope (medicine)|เป็นลม]], หรือ [[Shock (circulatory)|อาการช็อค]]<ref name=kirk2013/><ref name=Crochet2013/> โอกาสที่[[fetus|ทารก]]จะรอดนั้นต่ำมาก<ref>{{cite journal | vauthors = Zhang J, Li F, Sheng Q | s2cid = 35923100 | title = Full-term abdominal pregnancy: a case report and review of the literature | journal = Gynecologic and Obstetric Investigation | volume = 65 | issue = 2 | pages = 139–41 | date = 2008 | pmid = 17957101 | doi = 10.1159/000110015 }}</ref>


ปัจจัยเสี่ยงของการเกิดการตั้งครรภ์นอกมดลูกได้แก่ [[โรคอักเสบในอุ้งเชิงกราน]] (ส่วนใหญ่เกิดจากการติดเชื้อคลาไมเดีย) การสูบบุหรี่ การมีประวัติเคยผ่าตัดท่อนำไข่ การมีบุตรยาก และการใช้เทคโนโลยีการเจริญพันธุ์ ผู้ที่เคยมีการตั้งครรภ์นอกมดลูกมีความเสี่ยงสูงที่จะเป็นซ้ำ การตั้งครรภ์นอกมดลูกส่วนใหญ่ (90%) เกิดในท่อนำไข่ จึงเรียกว่า '''การตั้งครรภ์ในท่อนำไข่''' ({{lang-en|tubal pregnancy}}) ตำแหน่งอื่นที่อาจเกิดได้เช่น ปากมดลูก รังไข่ หรือเยื่อบุช่องท้อง การวินิจฉัยส่วนใหญ่ทำโดยการตรวจระดับฮอร์โมนเอชซีจี ร่วมกับการตรวจอัลตราซาวนด์ บางครั้งอาจต้องตรวจมากกว่าหนึ่งครั้ง ภาวะอื่นที่ทำให้มีอาการคล้ายคลึงกันเช่น การแท้ง การบิดขั้วของรังไข่ และไส้ติ่งอักเสบ
ปัจจัยเสี่ยงของการเกิดการตั้งครรภ์นอกมดลูกได้แก่ [[โรคอักเสบในอุ้งเชิงกราน]] (ส่วนใหญ่เกิดจากการติดเชื้อคลาไมเดีย) การสูบบุหรี่ การมีประวัติเคยผ่าตัดท่อนำไข่ การมีบุตรยาก และการใช้เทคโนโลยีการเจริญพันธุ์ ผู้ที่เคยมีการตั้งครรภ์นอกมดลูกมีความเสี่ยงสูงที่จะเป็นซ้ำ การตั้งครรภ์นอกมดลูกส่วนใหญ่ (90%) เกิดในท่อนำไข่ จึงเรียกว่า '''การตั้งครรภ์ในท่อนำไข่''' ({{lang-en|tubal pregnancy}}) ตำแหน่งอื่นที่อาจเกิดได้เช่น ปากมดลูก รังไข่ หรือเยื่อบุช่องท้อง การวินิจฉัยส่วนใหญ่ทำโดยการตรวจระดับฮอร์โมนเอชซีจี ร่วมกับการตรวจอัลตราซาวนด์ บางครั้งอาจต้องตรวจมากกว่าหนึ่งครั้ง ภาวะอื่นที่ทำให้มีอาการคล้ายคลึงกันเช่น การแท้ง [[การบิดขั้วของรังไข่]] และ[[ไส้ติ่งอักเสบ]]


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 20:15, 30 เมษายน 2565

การตั้งครรภ์นอกมดลูก
ชื่ออื่นEP, eccyesis, extrauterine pregnancy, EUP, tubal pregnancy (ถ้าเกิดขึ้นที่เฟลลอเปียนทูบ)
ภาพลาพาโรสโคปิก ส่องเข้าไปภายในมดลูก (แสดงด้วย ลูกศรสีน้ำเงิน) ทางซ้ายปรากฏฟอลโลเปียนทูบ (Fallopian tube) ที่ซึ่งเป็นจุดเกิดการตั้วครรภ์นอกมดลูก และเกิดฮีมาโตซัลพิงซ์ (แสดงด้วย ลูกศรสีแดง) ฟอลโลเปียนทูบอีกอันปกติดี
สาขาวิชาสูตินรีเวชศาสตร์
อาการปวดท้อง, เลือดออกในช่องคลอด[1]
ปัจจัยเสี่ยงโรคเชิงกรานอักเสบ, การสูบบุหรี่, การผ่าตัดที่ทูบในอดีต, มีประวัติมีบุตรยาก, การใช้เทคโนโลยีช่วยเจริญพันธุ์[2]
วิธีวินิจฉัยตรวจเลือดหา human chorionic gonadotropin (hCG), อัลตราซาวด์[1]
โรคอื่นที่คล้ายกันแท้ง, ovarian torsion, ไส้ติ่งแตกฉับพลัน[1]
การรักษาMethotrexate, ผ่าตัด[2]
พยากรณ์โรคอัตราเสียชีวิต 0.2% (โลกพัฒนาแล้ว), 2% (โลกกำลังพัฒนา)[3]
ความชุก~1.5% ของการตั้งครรภ์ (โลกพัฒนาแล้ว)[4]

การตั้งครรภ์นอกมดลูก (อังกฤษ: Ectopic pregnancy) เป็นอาการแทรกซ้อนในการตั้วครรภ์รูปแบบหนึ่งที่ซึ่งเอมบริโอฝังตัวนอกมดลูก[4] อาการพื้นฐานประกอบด้วย ปวดท้อง และ เลือดออกในมดลูก อย่างไรก็ตามมีเพียงต่ำกว่า 50 เปอร์เซ็นต์ของผู้ป่วยที่จะพบทั้งสองอาการ[1] อาการเจ็บปวดอาจลามไปถึงบริเวณไหล่หากมีเบือดออกในช่องท้อง[1] เลือดออกรุนแรวอาจนำไปสู่อัตราการเต้นของหัวใจที่สูงขึ้น, เป็นลม, หรือ อาการช็อค[4][1] โอกาสที่ทารกจะรอดนั้นต่ำมาก[5]

ปัจจัยเสี่ยงของการเกิดการตั้งครรภ์นอกมดลูกได้แก่ โรคอักเสบในอุ้งเชิงกราน (ส่วนใหญ่เกิดจากการติดเชื้อคลาไมเดีย) การสูบบุหรี่ การมีประวัติเคยผ่าตัดท่อนำไข่ การมีบุตรยาก และการใช้เทคโนโลยีการเจริญพันธุ์ ผู้ที่เคยมีการตั้งครรภ์นอกมดลูกมีความเสี่ยงสูงที่จะเป็นซ้ำ การตั้งครรภ์นอกมดลูกส่วนใหญ่ (90%) เกิดในท่อนำไข่ จึงเรียกว่า การตั้งครรภ์ในท่อนำไข่ (อังกฤษ: tubal pregnancy) ตำแหน่งอื่นที่อาจเกิดได้เช่น ปากมดลูก รังไข่ หรือเยื่อบุช่องท้อง การวินิจฉัยส่วนใหญ่ทำโดยการตรวจระดับฮอร์โมนเอชซีจี ร่วมกับการตรวจอัลตราซาวนด์ บางครั้งอาจต้องตรวจมากกว่าหนึ่งครั้ง ภาวะอื่นที่ทำให้มีอาการคล้ายคลึงกันเช่น การแท้ง การบิดขั้วของรังไข่ และไส้ติ่งอักเสบ

อ้างอิง[แก้]

  1. 1.0 1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ Crochet2013
  2. 2.0 2.1 อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ Cec2014
  3. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ WHO2015Mort
  4. 4.0 4.1 4.2 อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ kirk2013
  5. Zhang J, Li F, Sheng Q (2008). "Full-term abdominal pregnancy: a case report and review of the literature". Gynecologic and Obstetric Investigation. 65 (2): 139–41. doi:10.1159/000110015. PMID 17957101. S2CID 35923100.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]

การจำแนกโรค
ทรัพยากรภายนอก