ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คัพภวิทยา"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Drgarden (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Drgarden (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
'''คัพภวิทยา''' หรือ '''วิทยาเอ็มบริโอ''' ([[ภาษาอังกฤษ|อังกฤษ]]: Embryology) เป็นการศึกษาการเจริญของ[[เอ็มบริโอ]] เอ็มบริโอคือขั้นหนึ่งของการเจริญของ[[สิ่งมีชีวิต]]ก่อนคลอดหรือออกจากไข่ หรือในพืชคือในระยะก่อนการงอก (germination)
'''คัพภวิทยา''' หรือ '''วิทยาเอ็มบริโอ''' ([[ภาษาอังกฤษ|อังกฤษ]]: Embryology) เป็นการศึกษาการเจริญของ[[เอ็มบริโอ]] เอ็มบริโอคือขั้นหนึ่งของการเจริญของ[[สิ่งมีชีวิต]]ก่อนคลอดหรือออกจากไข่ หรือในพืชคือในระยะก่อนการงอก (germination)

<!--
[[ภาพ:Embryo, 8 cells.jpg|thumb|240px|right|ตัวอ่อนระยะมอรูลา (Morula) , ระยะ 8 เซลล์]]
[[ภาพ:Embryo, 8 cells.jpg|thumb|240px|right|ตัวอ่อนระยะมอรูลา (Morula) , ระยะ 8 เซลล์]]


คัพภวิทยาหมายถึงการเจริญของไข่ที่ได้รับการผสมแล้ว ([[ไซโกต]]) และมีการเปลี่ยนแปลงไปเป็น[[เนื้อเยื่อ]]และ[[อวัยวะ]]ต่างๆ หลังจากระยะแยก (cleavage) เซลล์ที่กำลังแบ่งตัว หรือ[[มอรูลา]] (morula) จะกลายมาเป็นลูกบอลกลวง หรือ[[บลาสตูลา]] (blastula) ซึ่งมีการเจริญของรูหรือช่องที่ปลายด้านหนึ่ง
Embryology refers to the development of the fertilized egg cell ([[zygote]]) and its differentiation into tissues and organs. After cleavage, the dividing cells, or [[morula]], becomes a hollow ball, or [[blastula]], which develops a hole or pore at one end.


[[ภาพ:Blastulation.png|thumb|240px|right|'''1''' - morula, '''2''' - blastula]]
[[ภาพ:Blastulation.png|thumb|240px|right|'''1''' - มอรูลา (morula), '''2''' - บลาสตูลา (blastula)]]


ใน[[สัตว์]] บลาสตูลาจะมีการเจริญแบ่งได้ออกเป็น 2 ทาง ทำให้สามารถแบ่งสัตว์ใน[[อาณาจักรสัตว์]]ออกเป็น 2 ประเภท ประเภทแรกคือหากมีการเจริญของรูในบลาสตูลา ([[บลาสโตพอร์]] (blastopore)) กลายเป็นปากของสัตว์ จะเรียกว่าพวก[[โพรโตสโตม]] (protostome) แต่หากรูนั้นเจริญเป็นทวารหนัก จะเรียกว่าพวก[[ดิวเทอโรสโตม]] (deuterostome) สัตว์พวกโพรโตสโตมได้แก่[[สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง]] เช่น [[แมลง]] [[หนอน]] และ[[พวกหอยกับปลาหมึก]] ในขณะที่พวกดิวเทอโรสโตมได้แก่สัตว์ที่วิวัฒนาการสูงเช่น[[สัตว์มีกระดูกสันหลัง]] (vertebrates) บลาสตูลาจะเปลี่ยนแปลงไปเป็นโครงสร้างที่เรียกว่า [[แกสตรูลา]] (gastrula)
In animals, the [[blastula]] develops in one of two ways that divides the whole animal kingdom into two halves. If in the [[blastula]] the first pore ([[blastopore]]) becomes the mouth of the animal, it is a [[protostome]]; if the first pore becomes the anus then it is a [[deuterostome]]. The [[protostomes]] include most [[invertebrate]] animals, such as insects, worms and molluscs, while the [[deuterostomes]] includes more advanced animals including the [[vertebrates]]. In due course, the [[blastula]] changes into a more differentiated structure called the [[gastrula]].


[[ภาพ:Gastrulation.png|thumb|240px|'''1''' - blastula, '''2''' - gastrula with blastopore; '''orange''' - ectoderm, '''red''' - endoderm.]]
[[ภาพ:Gastrulation.png|thumb|240px|'''1''' - บลาสตูลา (blastula), '''2''' - แกสตรูลา (gastrula) และบลาสโตพอร์ (blastopore); '''สีส้ม'''แทนเอ็กโทเดิร์ม, '''สีแดง'''แทนเอนโดเดิร์ม]]


แกสตรูลาและบลาสโตพอร์จะเจริญไปเป็นชั้นต่างๆ 3 ชั้น (germ layers) ซึ่งเป็นต้นกำเนิดของอวัยวะและเนื้อเยื่อในร่างกายทั้งหมด
The [[gastrula]] with its [[blastopore]] soon develops three distinct layers of cells (the [[germ layers]]) from which all the bodily organs and tissues then develop:
* ชั้นในสุด หรือ [[เอนโดเดิร์ม]] (endoderm) เจริญไปเป็นอวัยวะใน[[ทางเดินอาหาร]] [[ปอด]] และ[[กระเพาะปัสสาวะ]]
* ชั้นกลาง หรือ [[เมโซเดิร์ม]] (mesoderm) เจริญไปเป็น[[กล้ามเนื้อ]] [[โครงกระดูก]] และระบบ[[เลือด]]
* ชั้นนอกสุด หรือ [[เอ็กโทเดิร์ม]] (ectoderm) เจริญไปเป็น[[ระบบประสาท]]และ[[ผิวหนัง]]


สำหรับในมนุษย์ เอ็มบริโอหมายถึงกลุ่มเซลล์ที่กำลังแบ่งตัวรูปทรงกลมจากระยะที่ไซโกตฝังตัวอยู่ในผนัง[[มดลูก]]จนกระทั่งถึงสิ้นสุดสัปดาห์ที่ 8 หลังจากตั้งครรภ์ หลังจากสัปดาห์ที่ 8 จะเรียกตัวอ่อนของมนุษย์ว่า[[ทารกในครรภ์]] (fetus) เอ็มบริโอของสัตว์หลายชนิดจะมีลักษณะคล้ายกับสัตว์ชนิดอื่นๆ ในระยะการเจริญช่วงแรกๆ เหตุผลที่มีความคล้ายคลึงกันนั้นเนื่องจากสิ่งมีชีวิตมีการปรับตัวในสิ่งแวดล้อมของการตั้งครรภ์ ความคล้ายคลึงกันในสิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดเรียกว่า [[โครงสร้างกำเนิดต่างกัน]] (analogous structures) ซึ่งเป็นโครงสร้างที่ทำหน้าที่หรือกลไกเหมือนกันแต่วิวัฒนาการมาจากคนละส่วนกัน
* The innermost layer, or [[endoderm]], gives rise to the digestive organs, lungs and bladder.
* The middle layer, or [[mesoderm]], gives rise to the muscles, skeleton and blood system.
* The outer layer of cells, or [[ectoderm]], gives rise to the nervous system and skin.

In humans, the term embryo refers to the ball of dividing cells from the moment the [[zygote]] implants itself in the [[uterus]] wall until the end of the eighth week after conception. Beyond the eighth week, the developing human is then called a fetus. Embryos in many species often appear similar to one another in early developmental stages. The reason for this similarity is because species have adapted into the environment of pregnancy. These similarities among species are called [[analogous structures]], which are structures that have the same or similar function and mechanism, but evolved separately.

[[ภาพ:6 weeks pregnant.png|right|thumb|Human embryo at six weeks gestational age]]


[[ภาพ:6 weeks pregnant.png|right|thumb|เอ็มบริโอมนุษย์ อายุครรภ์ 6 สัปดาห์หลังประจำเดือนครั้งสุดท้าย]]
<!--
== History ==
== History ==
With a very long history, embryology is a subject that has engaged the minds of some of the most brilliant and original biological thinkers and experimentalists.
With a very long history, embryology is a subject that has engaged the minds of some of the most brilliant and original biological thinkers and experimentalists.

รุ่นแก้ไขเมื่อ 19:15, 19 มีนาคม 2551

คัพภวิทยา หรือ วิทยาเอ็มบริโอ (อังกฤษ: Embryology) เป็นการศึกษาการเจริญของเอ็มบริโอ เอ็มบริโอคือขั้นหนึ่งของการเจริญของสิ่งมีชีวิตก่อนคลอดหรือออกจากไข่ หรือในพืชคือในระยะก่อนการงอก (germination)

ตัวอ่อนระยะมอรูลา (Morula) , ระยะ 8 เซลล์

คัพภวิทยาหมายถึงการเจริญของไข่ที่ได้รับการผสมแล้ว (ไซโกต) และมีการเปลี่ยนแปลงไปเป็นเนื้อเยื่อและอวัยวะต่างๆ หลังจากระยะแยก (cleavage) เซลล์ที่กำลังแบ่งตัว หรือมอรูลา (morula) จะกลายมาเป็นลูกบอลกลวง หรือบลาสตูลา (blastula) ซึ่งมีการเจริญของรูหรือช่องที่ปลายด้านหนึ่ง

1 - มอรูลา (morula), 2 - บลาสตูลา (blastula)

ในสัตว์ บลาสตูลาจะมีการเจริญแบ่งได้ออกเป็น 2 ทาง ทำให้สามารถแบ่งสัตว์ในอาณาจักรสัตว์ออกเป็น 2 ประเภท ประเภทแรกคือหากมีการเจริญของรูในบลาสตูลา (บลาสโตพอร์ (blastopore)) กลายเป็นปากของสัตว์ จะเรียกว่าพวกโพรโตสโตม (protostome) แต่หากรูนั้นเจริญเป็นทวารหนัก จะเรียกว่าพวกดิวเทอโรสโตม (deuterostome) สัตว์พวกโพรโตสโตมได้แก่สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง เช่น แมลง หนอน และพวกหอยกับปลาหมึก ในขณะที่พวกดิวเทอโรสโตมได้แก่สัตว์ที่วิวัฒนาการสูงเช่นสัตว์มีกระดูกสันหลัง (vertebrates) บลาสตูลาจะเปลี่ยนแปลงไปเป็นโครงสร้างที่เรียกว่า แกสตรูลา (gastrula)

1 - บลาสตูลา (blastula), 2 - แกสตรูลา (gastrula) และบลาสโตพอร์ (blastopore); สีส้มแทนเอ็กโทเดิร์ม, สีแดงแทนเอนโดเดิร์ม

แกสตรูลาและบลาสโตพอร์จะเจริญไปเป็นชั้นต่างๆ 3 ชั้น (germ layers) ซึ่งเป็นต้นกำเนิดของอวัยวะและเนื้อเยื่อในร่างกายทั้งหมด

สำหรับในมนุษย์ เอ็มบริโอหมายถึงกลุ่มเซลล์ที่กำลังแบ่งตัวรูปทรงกลมจากระยะที่ไซโกตฝังตัวอยู่ในผนังมดลูกจนกระทั่งถึงสิ้นสุดสัปดาห์ที่ 8 หลังจากตั้งครรภ์ หลังจากสัปดาห์ที่ 8 จะเรียกตัวอ่อนของมนุษย์ว่าทารกในครรภ์ (fetus) เอ็มบริโอของสัตว์หลายชนิดจะมีลักษณะคล้ายกับสัตว์ชนิดอื่นๆ ในระยะการเจริญช่วงแรกๆ เหตุผลที่มีความคล้ายคลึงกันนั้นเนื่องจากสิ่งมีชีวิตมีการปรับตัวในสิ่งแวดล้อมของการตั้งครรภ์ ความคล้ายคลึงกันในสิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดเรียกว่า โครงสร้างกำเนิดต่างกัน (analogous structures) ซึ่งเป็นโครงสร้างที่ทำหน้าที่หรือกลไกเหมือนกันแต่วิวัฒนาการมาจากคนละส่วนกัน

เอ็มบริโอมนุษย์ อายุครรภ์ 6 สัปดาห์หลังประจำเดือนครั้งสุดท้าย

อ้างอิง

  • UNSW Embryology Large resource of information and media
  • [1] Definition of embryo according to Webster

หนังสืออ่านเพิ่มเติม

แหล่งข้อมูลอื่น