ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กลุ่มภาษาไท"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 16: บรรทัด 16:
|glotto=daic1237
|glotto=daic1237
|glottorefname=Daic
|glottorefname=Daic
|map=Taikadai-en1.png
|map=Tai languages-th.svg
|mapcaption=การกระจายของภาษากลุ่มไท:<br/>
|mapcaption=การกระจายของภาษากลุ่มไท:<br/>
{{legend|#FFEC19|ไทเหนือ / จ้วงเหนือ}}
{{legend|#FFEC19|ไทเหนือ / จ้วงเหนือ}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 00:10, 28 มีนาคม 2565

กลุ่มภาษาไท
จ้วง-ไท
ภูมิภาค:ภาคใต้ของจีน (โดยเฉพาะยูนนาน, กุ้ยโจว, กว่างซี และกว่างตง), เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และในอดีตในอินเดีย (อัสสัม)
การจําแนก
ทางภาษาศาสตร์
:
ขร้า-ไท
  • เบ-ไท?
    • กลุ่มภาษาไท
ภาษาดั้งเดิม:ไทดั้งเดิม
กลุ่มย่อย:
ISO 639-2 / 5:tai
กลอตโตลอก:daic1237[1]
{{{mapalt}}}
การกระจายของภาษากลุ่มไท:
  ไทเหนือ / จ้วงเหนือ
  ไทกลาง / จ้วงใต้
  ไทตะวันตกเฉียงใต้ / ไทย

กลุ่มภาษาไท (อังกฤษ: Tai languages) หรือ กลุ่มภาษาจ้วง-ไท (Zhuang–Tai languages)[2] เป็นกลุ่มภาษาย่อยกลุ่มหนึ่งของตระกูลภาษาขร้า-ไท ประกอบด้วยภาษาไทยในประเทศไทย ภาษาลาวในประเทศลาว ภาษาไทใหญ่ในรัฐชานของประเทศพม่า และภาษาจ้วง หนึ่งในภาษาหลักของประเทศจีนตอนใต้

ตารางการเปรียบเทียบ

ไทย ลาว[3] คำเมือง[4] ไทใหญ่ ไทลื้อ
ลม /lóm/ /lōm/ /lóm/ /lôm/
เมือง /mɯ́aŋ/ /mɯ̄aŋ/ /mə̂ŋ/ /mə̂ŋ/
ดิน (โลก) /dìn/ /dīn/ /lǐn/ /dín/
ไฟ /fáj/ /fāj/ /fâj/ /fâj/
หัวใจ /hǔa.t͡ɕàj/ /hǔa.t͡ɕǎj/ /hǒ.t͡sǎɯ/ /hó.t͡sáj/
รัก /hāk/ /hak/ /hâk/ /hâk/
น้ำ /nâm/ /ná(a)m/ /nâm/ /nàm/
หมี /mǐi/ /mǐi/ /mǐi/ /míi/
ป่า /pāa/ /pàa/ /pāa/ /pāa/
ไทย ลาว คำเมือง ไทใหญ่ ไทลื้อ

รายชื่อภาษา

ตัวเขียนไท

อ้างอิง

  1. Nordhoff, Sebastian; Hammarström, Harald; Forkel, Robert; Haspelmath, Martin, บ.ก. (2013). "Daic". Glottolog 2.2. Leipzig: Max Planck Institute for Evolutionary Anthropology.
  2. Diller, 2008. The Tai–Kadai Languages.
  3. สำเนียงเวียงจันทน์
  4. สำเนียงเชียงใหม่