ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เจ้าวรญาณรังษี"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 14: บรรทัด 14:


[[หมวดหมู่:เจ้าผู้ครองนครลำปาง]]
[[หมวดหมู่:เจ้าผู้ครองนครลำปาง]]

ถึง...ผู้ที่อ้างว่าเข้ามาโพสบ่อยๆ ทางเราขอให้คุณแสดงความจริงใจหน่อย เปิดใจให้กว้าง แล้วคุณจะทราบสิ่งดีๆของราชตระกูล ณ ลำปาง ซึ่งมีผู้รู้มากมาย ถ้าคุณอยากจะทราบข้อมูลดีๆ กรุณาใส่ชื่อและนามสกุลจริงด้วย ทางเราจะแนะนำแล้วนัดพบผู้ที่จะให้ความรู้ เพื่อให้คุณเกิดปัญญาที่จะยอมรับสิ่งใหม่ๆที่คุณยังไม่ทราบ ทางโรงเรียนลำปางกัลยาณีได้ก่อตั้งพิพิธภัณฑ์เกี่ยวกับราชตระกูล ณ ลำปางและประวัติศาสตร์ลำปาง ซึ่งเป็นหลักฐานที่ถูกต้องครบถ้วนและได้รับการยอมรับจากทางเจ้านาย ณ ลำปาง หากคุณได้มาสัมผัสพิพิธภัณฑ์แห่งนี้ ทางเราเชื่อแน่ว่า คุณจะต้องยอมรับข้อเท็จจริงที่อยู่ตรงหน้าคุณอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ นอกจากคุณจะปฏิเสธ ซึ่งหมายความว่าคุณไม่ยอมเปิดใจ และคุณยังมีจิตใจที่คับแคบ จะเอาแต่ชนะโดยไม่ฟังหลักฐาน ข้อความที่คุณเคยเข้ามาโพสและโทรมา ทางเจ้านาย ณ ลำปางได้รับทราบเรื่องราวต่างๆหมดแล้ว แต่ทางเจ้านายผู้อาวุโสหลายๆท่านได้ให้ข้อคิดว่า ไม่ต้องสนใจว่าใครเค้าจะอิจฉาหรือใช้วิชามารต่างๆ เรามีเชื้อสายเจ้าด้วยชาติตระกูลที่ชัดเจน(หลักฐานพิสูจน์ได้) เพื่อราชตระกูล ณ ลำปางจะอยู่ได้ และยั่งยืนต่อไป

รุ่นแก้ไขเมื่อ 22:02, 16 มีนาคม 2551

พระเจ้าวรญาณรังสี เป็นราชบุตรองค์ที่ ๔ ของพระเจ้าคำโสม สมรสกับเจ้าหญิงสุวันไล (เจ้าหญิงฝาง)

พระเจ้าวรญาณรังสี ครองนครลำปาง พ.ศ. ๒๓๗๒-๒๓๗๘ ในสมัยรัชกาลที่ ๔ ซึ่งให้มีฐานันดรศักดิ์เป็น เจ้าวรญาณรังสี ภักดีราชธรรมสุพรรณโนดม ไนยโยนกวิสัย ประชาธิกรเชษฐ์กะเขลางค์ลำปางมหานคราธิปไตย

ทายาทจากสายสกุลของพระเจ้าวรญาณรังสี ซึ่งเป็นที่รู้จักคือ เจ้าบุญหลอม วิรัตน์เกษม ธิดาของ ขุนอนุสารสุภกร (เจ้าน้อยฟุ้ง วิรัตน์เกษม) หลานเจ้าหลวงมหายศแห่งพะเยา และเจ้าบัวสร้อย ณ ลำปาง หลานเจ้าวรญาณรังสีภักดีราชธรรมฯ เจ้าบุญหลอมเป็นมารดาของคุณวันเพ็ญ ภู่พานิชเจริญกูล (วิรัตน์เกษม-ณ ลำปาง) (สมรสกับคุณเรืองฤทธิ์ ภู่พานิชเจริญกูล) มีบุตร-ธิดาคือ นายสุภัทร์ และ นางสาวนวรัตน์ ภู่พานิชเจริญกูล (วิรัตน์เกษม-ณ ลำปาง) และมีภาพตราประทับที่ได้สืบทอดจากเจ้าพ่อขุนอนุสารสุภกร วิรัตน์เกษม ซึ่งตราประทับทำด้วยงาช้าง เป็นตราประทับที่มีอายุ 100 กว่าปี และในตราประทับมีลักษณะเป็นรูปไก่ขาวยืนอยู่บนแท่น ห้อมล้อมด้วยบุปผาต่างๆ


|- style="text-align: center; vertical-align: middle;" | rowspan="1" style="width: 26%; background-color: inherit;" | พระเจ้าน้อยอินทร์ | rowspan="1" style="width: 4%;" | | rowspan="1" style="width: 40%; padding: .5em 0; background-color: inherit;" | เจ้าผู้ครองนครลำปาง
(พ.ศ. 2372 - พ.ศ. 2378) | rowspan="1" style="width: 4%;" | | rowspan="1" style="width: 26%; background-color: inherit;" | พระเจ้าพรหมาภิวงศ์

ถึง...ผู้ที่อ้างว่าเข้ามาโพสบ่อยๆ ทางเราขอให้คุณแสดงความจริงใจหน่อย เปิดใจให้กว้าง แล้วคุณจะทราบสิ่งดีๆของราชตระกูล ณ ลำปาง ซึ่งมีผู้รู้มากมาย ถ้าคุณอยากจะทราบข้อมูลดีๆ กรุณาใส่ชื่อและนามสกุลจริงด้วย ทางเราจะแนะนำแล้วนัดพบผู้ที่จะให้ความรู้ เพื่อให้คุณเกิดปัญญาที่จะยอมรับสิ่งใหม่ๆที่คุณยังไม่ทราบ ทางโรงเรียนลำปางกัลยาณีได้ก่อตั้งพิพิธภัณฑ์เกี่ยวกับราชตระกูล ณ ลำปางและประวัติศาสตร์ลำปาง ซึ่งเป็นหลักฐานที่ถูกต้องครบถ้วนและได้รับการยอมรับจากทางเจ้านาย ณ ลำปาง หากคุณได้มาสัมผัสพิพิธภัณฑ์แห่งนี้ ทางเราเชื่อแน่ว่า คุณจะต้องยอมรับข้อเท็จจริงที่อยู่ตรงหน้าคุณอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ นอกจากคุณจะปฏิเสธ ซึ่งหมายความว่าคุณไม่ยอมเปิดใจ และคุณยังมีจิตใจที่คับแคบ จะเอาแต่ชนะโดยไม่ฟังหลักฐาน ข้อความที่คุณเคยเข้ามาโพสและโทรมา ทางเจ้านาย ณ ลำปางได้รับทราบเรื่องราวต่างๆหมดแล้ว แต่ทางเจ้านายผู้อาวุโสหลายๆท่านได้ให้ข้อคิดว่า ไม่ต้องสนใจว่าใครเค้าจะอิจฉาหรือใช้วิชามารต่างๆ เรามีเชื้อสายเจ้าด้วยชาติตระกูลที่ชัดเจน(หลักฐานพิสูจน์ได้) เพื่อราชตระกูล ณ ลำปางจะอยู่ได้ และยั่งยืนต่อไป