นีกอลา ปูแซ็ง

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

ศาสตราจารย์ ดร.วิเลิศ ภูริวัชร

คณบดี คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ดำรงตำแหน่งคณบดีวาระที่ 2

“วิสัยทัศน์ที่ดีนั้นต้องมีความก้าวล้ำ ไม่ใช่แค่ก้าวทัน และต้องไม่ใช่สิ่งที่เราทำได้ดีอยู่แล้ว แต่ต้องเป็นจุดหมายที่เรายังไม่เคยไปมาก่อนเพื่อท้าทายเราฝันให้ใหญ่ และไปให้ถึงความเป็นเลิศ” จาก..ความเชี่ยวชาญด้านการบริหารธุรกิจและองค์กรจากมหาวิทยาลัยชั้นนำ


ประวัติการศึกษา

● ปริญญาตรี บริหารธุรกิจบัณฑิต(เกียรตินิยม) (สาขาการเงินและการธนาคาร), จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

● ปริญญาโท Master of Public and Private Management, Yale University, USA

● ปริญญาโท Master of Business Administration, Yale University, USA

● Certificate in Human Resource Management, Harvard University, USA

● DPhil (Management Studies), University of Oxford, UK


สู่…ความเชี่ยวขาญ ด้านการบริหารธุรกิจและองค์กรจากมหาวิทยาลัยชั้นนำ

–––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––

ประวัติการทำงาน

● ดำรงตำแหน่ง ศาสตราจารย์ สาขาบริหารธุรกิจ สังกัดคณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ตั้งแต่ พ.ศ.2564

● คณบดีคณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย วาระที่ 1 ตั้งแต่ พ.ศ.2562 ถึง เมษายน 2566

● คณบดีคณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย วาระที่ 2 ตั้งแต่ พ.ศ.2566 ถึงปัจจุบัน

● อดีตหัวหน้าภาควิชาการตลาด คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี 2 วาระ ปี พ.ศ.2557-2562

● อดีตประธานคณะกรรมการดำเนินงานหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการตลาด คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี

● อดีตรองประธานคณะกรรมการดำเนินงานหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการตลาด คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี

● อดีตรองประธานกรรมการดำเนินงานหลักสูตรบริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี

● อดีตหัวหน้าหน่วยงานสื่อสารองค์กร คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี

● อดีตกรรมการดำเนินงานหลักสูตรบริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี

● กรรมการสภามหาวิทยาลัย ตั้งแต่วันที่ 29 กันยายน พ.ศ. 2565 ถึงปัจจุบัน

● คณะกรรมการนโยบายการเงิน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

● คณะกรรมการพิจารณากำหนดตำแหน่งเชี่ยวชาญระดับต้น เชี่ยวชาญระดับกลาง และเชี่ยวชาญระดับสูง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

● คณะกรรมการประกันคุณภาพ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

● คณะกรรมการอำนวยการวิเคราะห์กรอบอัตรากำลังของมหาวิทยาลัย

● อดีตผู้อำนวยการหลักสูตรสหสาขาวิชาธุรกิจเทคโนโลยีและการจัดการนวัตกรรม บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


ระดับนานาชาติ

● กรรมการประเมินผลงานคุณภาพระดับโลก AACSB (Association to Advance Collegiate Schools of Business)

● สถาบันรับรองมาตรฐานการศึกษาด้านบริหารธุรกิจ จากสหรัฐอเมริกา

● กรรมการประเมินผลงานคุณภาพระดับโลก EQUIS (EFMD Quality Improvement System)

● สถาบันรับรองมาตรฐานการศึกษาด้านบริหารธุรกิจ จากสหภาพยุโรป

● กรรมการประเมินผลงานคุณภาพระดับโลก AMBA (Association of MBAs)

● สถาบันรับรองมาตรฐานหลักสูตรบริหารธุรกิจระดับบัณฑิตศึกษา จากสหราชอาณาจักร

● ประธานกรรมการวิจัยร่วมกับ The World Economic Forum : WEF ในส่วนของการทำวิจัยในประเทศไทย

● กรรมการตัดสินในงานระดับโลก Youth4South Entrepreneurship Competition at United Nations

นีกอลา ปูแซ็ง (ฝรั่งเศส: Nicolas Poussin; 15 มิถุนายน ค.ศ. 1594 - 19 พฤศจิกายน ค.ศ. 1665) เป็นจิตรกรชาวฝรั่งเศสในคริสต์ศตวรรษที่ 17 ผู้มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนจิตรกรรมสีน้ำมัน

ปูแซ็งเกิดเมื่อวันที่ 15 มิถุนายน ค.ศ. 1594 ที่เมืองเลซ็องเดอลีในนอร์ม็องดีในประเทศฝรั่งเศส และเสียชีวิตเมื่อวันที่ 19 พฤศจิกายน ค.ศ. 1665 ลักษณะการเขียนเป็นแบบคลาสสิกซิสม์ งานของปูแซ็งเจะชัดเจน มีเหตุผลและมีระเบียบและนิยมเส้นมากกว่าสี ปูแซ็งมีอิทธิพลต่อจิตรกรที่มีลักษณะเขียนไปทางคลาสสิกมาจนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 20 เช่น ฌัก-หลุยส์ ดาวีด, ปอล เซซาน

ปูแซ็งใช้เวลาส่วนใหญ่ในช่วงทำงานเขียนในกรุงโรม นอกจากช่วงที่คาร์ดินัลรีเชอลีเยอ (Cardinal Richelieu) เรียกตัวกลับมาฝรั่งเศสเพื่อมาเป็นเป็นจิตรกรเอกประจำราชสำนักพระเจ้าแผ่นดินฝรั่งเศส

เบื้องต้น[แก้]

“Les Bergers d’Arcadie” ปลายคริสต์ทศวรรษ 1630 กล่าวกันว่าปูแซ็งไม่เคยเขียนหัวเรื่องหลังคริสต์ศตวรรษที่ 12

ผู้เขียนชีวประวัติสมัยแรกของปูแซ็งคือเพื่อนชื่อโจวันนี ปีเอโตร เบลโลรี[1] ผู้เขียนว่าปูแซ็งเกิดที่เลซ็องเดอลีในนอร์ม็องดีและได้รับการศึกษาเบื้องต้นที่รวมทั้งภาษาละติน งานร่างสมัยแรกเป็นที่สังเกตของก็องแต็ง วาแร็ง จิตรกรท้องถิ่นที่ปูแซ็งได้เป็นลูกศิษย์จนกระทั่งหนีไปปารีสเมื่ออายุ 18 ที่ปารีสปูแซ็งเข้าศึกษากับห้องผลิตงานของแฟร์ดีน็อง แอล จิตรกรเฟลมิช และต่อมากับฌอร์ฌ ลาลม็อง ปูแซ็งพบว่าศิลปะฝรั่งเศสขณะนั้นกำลังอยู่ในระหว่างการเปลี่ยนแปลง ระบบการฝึกงานกับครูบาแบบเก่าเริ่มจะกระทบกระเทือน แต่ระบบการศึกษาจากสถาบันยังไม่ได้รับการก่อตั้งโดยซีมง วูแอ (Simon Vouet) แต่เมื่อพบกับกูร์ตัว (Courtois) นักคณิตศาสตร์ ปูแซ็งก็ตื่นเต้นกับการศึกษางานสะสมภาพพิมพ์ลายแกะของกูร์ตัวที่ทำโดยมาร์คันโตนีโอ ไรมอนดี (Marcantonio Raimondi) ตามแบบมาสเตอร์อิตาลี

อ้างอิง[แก้]

  1. His Lives of the Painters was published in Rome, 1672. Poussin's other contemporary biographer was André Félibien

ดูเพิ่ม[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]

วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ นีกอลา ปูแซ็ง