ท่าน้ำนนทบุรี

พิกัด: 13°50′31″N 100°29′28″E / 13.8418616°N 100.4911555°E / 13.8418616; 100.4911555
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ท่าน้ำนนทบุรี
ท่าน้ำนนทบุรี (พิบูลสงคราม 3) ในปี พ.ศ. 2553
ประเภทท่าเรือโดยสาร
ประเภทเรือเรือด่วน, เรือข้ามฟาก
โครงสร้างท่าสะพานเหล็กปรับระดับพร้อมโป๊ะเหล็ก
ที่ตั้งอำเภอเมืองนนทบุรี, จังหวัดนนทบุรี
ฝั่งตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยา
ชื่อทางการท่านนทบุรี (ท่าพิบูลสงคราม 3) (โดยกรมเจ้าท่า)
เจ้าของกรมเจ้าท่า
ผู้ดำเนินงาน • เรือด่วนเจ้าพระยา
 • เรือโดยสารไมน์สมาร์ทเฟอร์รี่
ค่าโดยสาร • เรือด่วนเจ้าพระยา

ธงส้ม16 บาทตลอดสาย
ธงเหลือง 21 บาทตลอดสาย
ธงเขียวเหลือง 14-33 บาท
ธงแดง 30 บาทตลอดทั้งสาย (ปกติ 50 บาท)
 • เรือไมน์สมาร์ทเฟอร์รี่

 สายสีม่วง  20 บาทตลอดสาย
ข้อมูลเฉพาะ
รหัสท่า น30 (N30) 
โครงสร้างหลักโป๊ะลอยน้ำ 2 โป๊ะ
(นอกด้านเหนือ 1 โป๊ะ ด้านใต้ 1 โป๊ะ)
ความยาว10 เมตร (ด้านเหนือ)
15 เมตร (ด้านใต้)
ความกว้าง5 เมตร (ด้านเหนือ)
5 เมตร (ด้านใต้)
ท่าก่อนหน้า เรือด่วนเจ้าพระยา ท่าต่อไป
สถานีปลายทาง ประจำทาง พิบูลสงคราม 2
มุ่งหน้า วัดราชสิงขร
ธงส้ม
ธงเหลือง พิบูลสงคราม 2
มุ่งหน้า ท่าสาทร
กระทรวงพาณิชย์ ธงเขียวเหลือง

ท่าน้ำนนทบุรี หรือ ท่าน้ำนนท์ หรือ ท่าน้ำพิบูลสงคราม 3 (อังกฤษ: Nonthaburi Pier, Non Pier, Nonthaburi Pier, Pibulsongkram 3 Pier; รหัส: น30, N30) เป็นท่าน้ำริมแม่น้ำเจ้าพระยาหลายท่าใกล้เคียงกัน ตั้งอยู่บริเวณหน้าศาลากลางจังหวัดนนทบุรีหลังเก่าและหอนาฬิกาจังหวัดนนทบุรี ถนนประชาราษฎร์ เขตเทศบาลนครนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี ประกอบด้วยท่าเรือด่วนเจ้าพระยาและท่าเรือข้ามฟาก

ท่าน้ำนนทบุรีเป็นท่าเรือที่มีเรือด่วนเจ้าพระยาทุกสายมาจอด เนื่องจากเป็นจุดเชื่อมต่อการคมนาคมระหว่างอำเภอปากเกร็ด อำเภอเมืองนนทบุรี และกรุงเทพมหานคร

หอนาฬิกาบริเวณท่าน้ำนนทบุรี

ท่าเรือ[แก้]

ท่าน้ำนนทบุรี, รหัส: น30 (อังกฤษ: Nonthaburi Pier, code: N30) มี 2 ท่า ประกอบด้วย

สถานที่สำคัญ[แก้]

การเชื่อมต่อรถโดยสาร[แก้]

ถนนประชาราษฎร์[แก้]

องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ[แก้]

  • Handicapped/disabled access เส้นทางที่มีรถรองรับวีลแชร์
สายที่ จุดเริ่มต้น จุดสิ้นสุด ประเภทของรถที่ให้บริการ ผู้ให้บริการ หมายเหตุ
32 (2) ปากเกร็ด วัดโพธิ์ 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม–แดง ขสมก. 1.จอดเฉพาะขากลับเท่านั้น
รัฐสภา 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู) 1.เสริมพิเศษช่วงเย็นจากวัดแก้วฟ้าจุฬามณี

2.จอดเฉพาะขากลับเท่านั้น

63 (2) เอ็มอาร์ทีสะพานพระนั่งเกล้า อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม–แดง

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)

65 (2) วัดปากน้ำนนทบุรี สนามหลวง 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม–แดง
97 (2) กระทรวงสาธารณสุข โรงพยาบาลสงฆ์ 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม–แดง 1.มีรถให้บริการตลอดคืน
นนทบุรี 1.เสริมพิเศษเฉพาะกะสว่าง 1 เที่ยว
114 (1) บางเขน/แยกลำลูกกา ท่านํ้านนทบุรี 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม–แดง

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)

1.มีรถให้บริการตลอดคืน
117 (2) ศาลาว่าการกทม.2 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม–แดง
543 (1) รถโดยสารประจำทาง อู่บางเขน 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีครีม–น้ำเงิน
  • ป้ายรถประจำทาง ถนนประชาราษฎร์ หอนาฬิกาจังหวัดนนทบุรี สาย 30 32(เฉพาะขากลับ) 63(เฉพาะขาไป) 64(เฉพาะรถร่วม) 65(เฉพาะขาไป) 97 114(เฉพาะขากลับ) 117 175 203 543 4-67
  • รถตุ๊กตุ๊กสองแถว ในเส้นทางท่าน้ำนนทบุรี-เรวดี, ท่าน้ำนนทบุรี-ตลาดนนทบุรี, ท่าน้ำนนทบุรี-กระทรวงพาณิชย์,
  • รถสี่ล้อสองแถว สองแถว 1 (วงกลม นนทบุรี - สนามบินน้ำ), รถกะป๊อมาสด้า 1 (ท่าน้ำนนท์ - วัดชมภูเวก), สองแถว 3 (ท่าน้ำนนท์ - วัดสังฆทาน - บางไผ่ ซอย 5), สองแถว 4 (ท่าน้ำนนท์ - วัดโบสถ์บน), สองแถว 5 (ท่าน้ำนนท์ - วัดไทร), สองแถว 10 (ท่าน้ำนนท์ - คลัสเตอร์ วิลล์ ราชพฤกษ์), สองแถวฟ้าขาว 1024ข หลังคาฟ้า (พระราม 5 - บางบัวทอง), สองแถว 1053 (นนทบุรี - วัดสาลีโข), สองแถว 6162 (ท่าน้ำนนทบุรี - วัดชลอ), สองแถว 17002 (ซอยประชาราษฎร์ 26 แยก 1 - เซ็นทรัลรัตนาธิเบศร์)[1]
  • รถตู้ ในเส้นทางท่าน้ำนนทบุรี-เมืองทองธานี, ท่าน้ำนนทบุรี-อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ, ท่าน้ำนนทบุรี-ปากเกร็ด, ท่าน้ำนนทบุรี-สะพานสมเด็จพระปิ่นเกล้า

เหตุการณ์สำคัญ[แก้]

อ้างอิง[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]

13°50′31″N 100°29′28″E / 13.8418616°N 100.4911555°E / 13.8418616; 100.4911555