คีร์คูก

พิกัด: 35°28′0″N 44°19′0″E / 35.46667°N 44.31667°E / 35.46667; 44.31667
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
คีร์คูก
เนินปราสาทคีร์คูก
เนินปราสาทคีร์คูก
คีร์คูกตั้งอยู่ในประเทศอิรัก
คีร์คูก
คีร์คูก
ที่ตั้งในประเทศอิรัก
พิกัด: 35°28′0″N 44°19′0″E / 35.46667°N 44.31667°E / 35.46667; 44.31667
ประเทศธงของประเทศอิรัก อิรัก[1]
เขตผู้ว่าการคีร์คูก
อำเภอคีร์คูก
ความสูง350 เมตร (1,150 ฟุต)
ประชากร
 (ประมาณ ค.ศ. 2009/2020)[3]
 • เมือง850,787 คน
 • เขตเมือง1,013,000[2] คน
เขตเวลาGMT +3

คีร์คูก (อาหรับ: كركوك, อักษรโรมัน: Karkūk กัรกูก,[4] ตุรกี: Kerkük,[5] เคิร์ด: Kerkûk ,کەرکووک,[6] ซีรีแอก: ܟܪܟܘܟ, Kerkouk[7] อังกฤษ: Kirkuk) เป็นเมืองในประเทศอิรัก ซึ่งเป็นเมืองหลวงของเขตผู้ว่าการคีร์คูก อยู่ห่างจากแบกแดดไปทางเหนือ 238 กิโลเมตร (148 ไมล์)[8] คีร์คูกตั้งอยู่ในพื้นที่ที่มีประชากรมีความหลากหลายมากมายและพูดได้หลายภาษามาหลายศตวรรษ ในคริสต์ศตวรรษที่ 20 มีการเปลี่ยนแปลงประชากรอย่างมากในระหว่างการกลายเป็นเมืองคีร์คูก[9] ชาวอิรักเชื้อสายเติร์กเมน ชาวเคิร์ด ชาวอาหรับ และชาวอัสซีเรียได้อ้างสิทธิในบริเวณนี้ โดยมีหลักฐานและความทรงจำมาสนับสนุนข้ออ้างของตน[10]

ถึงแม้ว่าตัวเมืองเดิมเคยเป็นของชาวอิรักเชื้อสายเติร์กเมน[11] ชาวเคิร์ดได้อ้างเป็นเมืองหลวงทางวัฒนธรรมของตน[12] นอกจากนี้ ตามรัฐธรรมนูญภูมิภาคเคิร์ด ถูกวางแผนเป็นเมืองหลวงด้วย[13] ใน ค.ศ. 2010 กระทรวงวัฒนธรรมอิรักตั้งเมืองนี้เป็น "เมืองหลวงของวัฒนธรรมอิรัก"[14] ตัวเมืองพบการเปลี่ยนแปลงของประชากรในการรณรงศ์การแผลงเป็นอาหรับของบาอัษในอิรักเหนือหลังการบุกครองอิรัก พ.ศ. 2546 และต่อมาในช่วงสงครามกลางเมืองอิรัก (พ.ศ. 2557–2560) ตัวเมืองเป็นส่วนหนึ่งของดินแดนพิพาทในอิรักเหนือ

ภูมิประเทศ[แก้]

ภูมิอากาศ[แก้]

คีร์คูกประสบกับภูมิอากาศแบบร้อนกึ่งแห้งแล้ง (การแบ่งเขตภูมิอากาศแบบเคิพเพิน: BSh) ด้วยฤดูร้อนที่ร้อนและแห้งกับฤดูหนาวอ่อน พร้อมระดับฝนปานกลาง ไม่ค่อยมีหิมะตก แต่เกิดหิมะตกในวันที่ 22 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2004[15] และตั้งแต่วันที่ 10 ถึง 11 มกราคม ค.ศ. 2008[16]

ข้อมูลภูมิอากาศของคึร์คูก (1976–2008)
เดือน ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ทั้งปี
อุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ย °C (°F) 13.8
(56.8)
15.7
(60.3)
20.1
(68.2)
26.3
(79.3)
33.7
(92.7)
39.8
(103.6)
43.2
(109.8)
42.8
(109)
38.7
(101.7)
31.4
(88.5)
22.6
(72.7)
15.8
(60.4)
28.66
(83.59)
อุณหภูมิเฉลี่ยแต่ละวัน °C (°F) 9.1
(48.4)
10.7
(51.3)
14.6
(58.3)
20.1
(68.2)
26.7
(80.1)
32.2
(90)
35.4
(95.7)
35.0
(95)
31.0
(87.8)
24.8
(76.6)
16.9
(62.4)
11.1
(52)
22.3
(72.14)
อุณหภูมิต่ำสุดเฉลี่ย °C (°F) 4.4
(39.9)
5.7
(42.3)
9.0
(48.2)
13.8
(56.8)
19.6
(67.3)
24.5
(76.1)
27.5
(81.5)
27.1
(80.8)
23.2
(73.8)
18.1
(64.6)
11.2
(52.2)
6.3
(43.3)
15.87
(60.56)
หยาดน้ำฟ้า มม (นิ้ว) 68.3
(2.689)
66.7
(2.626)
57.3
(2.256)
44.1
(1.736)
13.4
(0.528)
0.1
(0.004)
0.2
(0.008)
0.0
(0)
0.7
(0.028)
12.4
(0.488)
39.1
(1.539)
59.0
(2.323)
361.3
(14.224)
วันที่มีหยาดน้ำฟ้าโดยเฉลี่ย 11 11 11 9 5 0 0 0 0 5 7 10 69
แหล่งที่มา: WMO[17]


อ้างอิง[แก้]

  1. Hanish, Shak (1 March 2010). "The Kirkuk Problem and Article 140 of the Iraqi Constitution: The Kirkuk Problem". Digest of Middle East Studies: 15–25. doi:10.1111/j.1949-3606.2010.00002.x. สืบค้นเมื่อ 15 November 2019.
  2. "UN World Urbanization Prospects 2018". สืบค้นเมื่อ 2020-04-05.
  3. "World Gazetteer". World Gazetteer. 26 มกราคม 2009. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 9 February 2013. สืบค้นเมื่อ 2009-01-26.
  4. "كركوك.. محافظة عراقية تتنازعها القوميات" (ภาษาอาหรับ). สืบค้นเมื่อ 21 December 2019.
  5. "Irak'ın Kerkük kentindeki patlamalarda 16 kişi yaralandı". Anadolu Agency (ภาษาตุรกี). สืบค้นเมื่อ 21 December 2019.
  6. "محافظة كركوك کەرکووک Kerkûk" (ภาษาเคิร์ด และ อาหรับ). 14 April 2015. สืบค้นเมื่อ 21 December 2019.
  7. "Zowaa" (PDF). Bahra Magazine. 2005.
  8. "Google Maps Distance Calculator". Daftlogic.com. 12 January 2013. สืบค้นเมื่อ 2013-03-26.
  9. Bet-Shlimon, Arbella. 2012. Group Identities, Oil, and the Local Political Domain in Kirkuk: A Historical Perspective. Journal of Urban History 38, no. 5.
  10. "Kirkuk". Cities in transition.
  11. "The Identity of Kirkuk" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 20 สิงหาคม 2011. Conclusion
  12. Mufti, Hania; (Organization), Human Rights Watch (August 2004). Claims in conflict: reversing ethnic cleansing in northern Iraq. Human Rights Watch (Organization). Vol. 16. p. 54.
  13. "UNPO: Kurdistan: Constitution of the Iraqi Kurdistan Region". unpo.org. สืบค้นเมื่อ 2020-12-12.
  14. "Archived copy". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 30 มิถุนายน 2017. สืบค้นเมื่อ 27 ธันวาคม 2009.{{cite web}}: CS1 maint: archived copy as title (ลิงก์)
  15. Cole, William (23 February 2004). "Rare Iraq snowfall lifts troops' spirits". The Honolulu Advertiser. สืบค้นเมื่อ 3 March 2013.
  16. "Iraq under cold front bringing snow and below zero temperatures". Indian Muslims. Kuwait News Agency (KUNA). 11–12 January 2008. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 28 September 2013. สืบค้นเมื่อ 3 March 2013. BAGHDAD, Jan 11 (KUNA) – Snow fell on large areas of Iraq following two days of low temperature. Dr. Daoud Shaker, head of the Iraqi weather bureau told the Kuwait News Agency (KUNA) snow fell in Baghdad during two hours in the morning on Friday after coming under the effect of two pressure systems, one cold originating from Siberia and the other warm coming from the sea. He said the temperature on Friday was "below zero in several Iraqi areas" resulting in snowfalls Thursday in several western areas. But the snowfall continued on Friday along with the low temperatures, he added. He predicted that the snowfalls and rain would subside as of Friday night paving the way for subzero temperatures in the next few days that could reach six degrees Celsius below zero specifically at night. He added that the snow that fell on Baghdad has melted. But in Kirkuk and several northern cities including Suleimaniah, snow fell again on Friday along with very low temperatures. According to weather sources, up to four millimeters of snow fell on Kirkuk Friday.
  17. WMO. "World Weather Information Service". World Weather Information Service.

หนังสือ[แก้]

อ่านเพิ่ม[แก้]

ตีพิมพ์ในคริสต์ศตวรรษที่ 19
ตีพิมพ์ในคริสต์ศตวรรษที่ 20
  • "Kerkuk", Encyclopædia Britannica (11th ed.), New York: Encyclopædia Britannica Co., 1910, OCLC 14782424
  • "Kerkuk", Palestine and Syria (5th ed.), Leipzig: Karl Baedeker, 1912
ตีพิมพ์ในคริสต์ศตวรรษที่ 21
  • Michael R.T. Dumper; Bruce E. Stanley, บ.ก. (2008), "Kirkuk", Cities of the Middle East and North Africa, Santa Barbara, USA: ABC-CLIO, ISBN 978-1576079195

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]