การล้อมบูดาเปสต์

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ยุทธการที่บูดาเปสต์
ส่วนหนึ่งของ การรุกบูดาเปสต์ (แนวรบด้านตะวันออก ในสงครามโลกครั้งที่สอง)

ทหารโซเวียตเดินผ่านหน้า Museum of Applied Arts หลังยุทธการจบลง
วันที่24 ธันวาคม 1944 – 13 กุมภาพันธ์ 1945
(1 เดือน 2 สัปดาห์ 6 วัน)
สถานที่
ผล โซเวียตชนะ
คู่สงคราม
นาซีเยอรมนี นาซีเยอรมนี
ราชอาณาจักรฮังการี (ค.ศ. 1920–1946) รัฐบาลเอกภาพแห่งชาติฮังการี
 สหภาพโซเวียต
โรมาเนีย ราชอาณาจักรโรมาเนีย
ผู้บังคับบัญชาและผู้นำ
นาซีเยอรมนี Karl Pfeffer-Wildenbruch (เชลย)
นาซีเยอรมนี Gerhard Schmidhuber 
ฮังการี Dezső László
ฮังการี Iván Hindy (เชลย)
สหภาพโซเวียต โรดีออน มาลีนอฟสกี
สหภาพโซเวียต ฟิโอดอร์ ตอลบูคิน
กำลัง

ในเมือง:[1]

รวม 79,000 นาย
นาซีเยอรมนีทหาร 41,000 นาย (ration strength)
ฮังการีทหาร 38,000 นาย (ration strength)
ปืนใหญ่ 489 กระบอก
รถถังและรถถังจู่โจม 125 คัน
ปืนต่อต้านรถถังหนัก 117 กระบอก

ในเมือง:[2][3]

ทหาร 177,000 นาย
ปืนใหญ่ 1,000 กระบอก
ความสูญเสีย

3 November–15 February: 137,000 men[4]
24 December–15 February: 114,000 men[4]
City:

79,000 men
  • นาซีเยอรมนี 30,000 killed
  • นาซีเยอรมนี 11,000 captured
  • ฮังการี 9,000 killed
  • ฮังการี 29,000 captured

Relief attempts:

35,000 men
  • 8,000 killed
  • 26,000 wounded
  • 1,000 captured

3 November–11 February: 280,000 men[4]
Relief attempts:

80,000 men
  • 15,000 killed
  • 60,000 wounded
  • 5,100 captured
76,000 civilians dead[5]
38,000 civilians died in the siege (7,000 executed)
38,000 died in labour or POW camps

ยุทธการที่บูดาเปสต์ หรือ การล้อมบูดาเปสต์ เป็นการสู้รบตลอด 50 วันของกองทัพโซเวียต ณ กรุงบูดาเปสต์เมืองหลวงของฮังการี ช่วงสงครามโลกครั้งที่สองจะสิ้นสุดลง โดยเป็นส่วนหนึ่งของการรุกบูดาเปสต์ ยุทธการเริ่มขึ้นเมื่อกรุงบูดาเปสต์ซึ่งถูกปกป้องโดยกองทัพฮังการีและเยอรมนี ถูกโจมตีครั้งแรกโดยกองทัพโซเวียตและกองทัพโรมาเนียในวันที่ 26 ธันวาคม 1944 ในช่วงการรบที่บูดาเปสต์พลเรือน 38,000 คนเสียชีวิตขณะอพยพหรือถูกทหารฆ่า กรุงบูดาเปสต์ยอมจำนนอย่างไม่มีเงื่อนไขในวันที่ 13 กุมภาพันธ์ 1945 โดยเป็นการรบที่ได้รับชัยชนะในเชิงยุทธศาสตร์ของฝ่ายสัมพันธมิตร ในการรุกหน้าสู่กรุงเบอร์ลิน

อ้างอิง[แก้]

  1. Frieser et al. 2007, p. 897.
  2. Frieser et al. 2007, p. 898.
  3. Ungváry 2003, p. 324.
  4. 4.0 4.1 4.2 Ungváry 2003, p. 331–332.
  5. Ungváry 2003, p. 330.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]