การตั้งรับที่ป้อมแบรสต์

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ยุทธการแบรสต์
ส่วนหนึ่งของ แนวรบด้านตะวันออก ใน สงครามโลกครั้งที่สอง

แนวรบด้านตะวันออกในช่วงของยุทธการแบรสต์
วันที่22 มิถุนายน - 30 กรกฎาคม ค.ศ. 1941
สถานที่
ผล ชัยชนะของเยอรมนี
คู่สงคราม
นาซีเยอรมนี นาซีเยอรมนี สหภาพโซเวียต สหภาพโซเวียต
ผู้บังคับบัญชาและผู้นำ
นาซีเยอรมนี ฟริทซ์ ชลีเพอร์ สหภาพโซเวียต ปิออตร์ กัฟรีลอฟ
สหภาพโซเวียต อีวาน ซูบาชยอฟ
สหภาพโซเวียต เยฟิม โฟมิน (23–26 มิถุนายน; ถูกสังหาร)[1][2]
กำลัง
17,000 – 20,000 นาย[3] มากกว่า 9,000 นาย[4]
ความสูญเสีย
เสียชีวิต 1,000 นาย และบาดเจ็บ 700 นาย[5] เสียชีวิต 2,000 นาย[6]
และถูกจับกุมตัวประมาณ 7,000 นาย[7]

การตั้งรับที่ป้อมแบรสต์ (อังกฤษ: Defense of Brest Fortress) เรื่มขึ้นในวันที่ 22 มิถุนายน ถึงวันที่ 30 กรกฎาคม ค.ศ. 1941 เป็นหนึ่งในยุทธการแรก ๆ ของปฏิบัติการบาร์บารอสซา ที่ซึ่งการตั้งรับการโจมตีจากกองทัพ เวร์มัคท์ ของฝ่ายกองทัพแดงป้อมแบรสต์ ยืดเยื้อมากกว่าที่คาดการณ์เอาไว้ ต่อมาหลังการสิ้นสุดลงของสงครามโลกครั้งที่สอง การสู้รบนี้ได้กลายมาเป็นสัญลักษณ์ของการยืนหยัดต่อสู้ของฝ่ายโซเวียต และในปี ค.ศ. 1965 ป้อมแบรสต์ได้รับสถานะ ป้อมวีรชน (Hero Fortress) สำหรับการตั้งรับอันกล้าหาญในปี ค.ศ. 1941

อ้างอิง[แก้]

  1. Constantine Pleshakov, Stalin's Folly: The Tragic First Ten Days of World War II on the Eastern Front, Houghton Mifflin Books, 2005, ISBN 0-618-36701-2, Google Print, p.243
  2. Pleshakov notes (p. 242): "With the exception of Gavrilov [commander of the 44th Infantry Regiment], all the commanders of the troops were self-appointed. On the morning of 22 June, rank ceased to matter, and whoever was able to issue a sane order and persuade others to carry it out was acknowledged as a leader."
  3. Geoffrey Roberts, Stalin's Wars: From World War to Cold War, 1939-1953 , ISBN 0-300-11204-1, Yale University Press, 2006, Google Print, p.87
  4. Christian Ganzer: Remembering and Forgetting: Hero Veneration in the Brest Fortress. In: Siobhan Doucette, Andrej Dynko, Ales Pashkevich (ed.): Returning to Europe. Belarus. Past and Future. Warsaw 2011, p. 138-145; here p. 141.
  5. Christian Ganzer: German and Soviet Losses as an Indicator of the Length and Intensity of the Battle for the Brest Fortress (1941). In: The Journal of Slavic Military Studies, Volume 27, Issue 3, p. 449-466., here p. 458-459.
  6. Christian Ganzer: Remembering and Forgetting: Hero Veneration in the Brest Fortress. In: Siobhan Doucette, Andrej Dynko, Ales Pashkevich (ed.): Returning to Europe. Belarus. Past and Future. Warsaw 2011, p. 138-145; here p. 139.
  7. Christian Ganzer: German and Soviet Losses as an Indicator of the Length and Intensity of the Battle for the Brest Fortress (1941). In: The Journal of Slavic Military Studies, Volume 27, Issue 3, p. 449-466., here p. 463.

อ้างอิง[แก้]