เซี่ยเหมิน

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก Xiamen)
เซี่ยเหมิน

厦门市

อามอย, เอ้หมึง
สถานที่ต่าง ๆ ในนครเซี่ยเหมิน
สถานที่ต่าง ๆ ในนครเซี่ยเหมิน
คำขวัญ: 
温馨城市·海上花园 (นครอบอุ่น สวนริมทะเล)
แผนที่
ที่ตั้งของนครเซี่ยเหมินในมณฑลฝูเจี้ยน
ที่ตั้งของนครเซี่ยเหมินในมณฑลฝูเจี้ยน
เซี่ยเหมินตั้งอยู่ในประเทศจีน
เซี่ยเหมิน
เซี่ยเหมิน
ตำแหน่งในประเทศจีน
พิกัด (หน่วยงานบริหารนครเซี่ยเหมิน): 24°28′47″N 118°05′20″E / 24.4796°N 118.0889°E / 24.4796; 118.0889พิกัดภูมิศาสตร์: 24°28′47″N 118°05′20″E / 24.4796°N 118.0889°E / 24.4796; 118.0889
ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน
มณฑลฝูเจี้ยน
ศูนย์กลางการปกครองเขตซือหมิง (思明区)
เขตการปกครอง
ระดับเทศมณฑล
6 เขต
การปกครอง
 • เลขาธิการพรรคหู ชางเชิง (胡昌升)
 • นายกเทศมนตรีว่าง
พื้นที่
 • ทั้งจังหวัด1,700.61 ตร.กม. (656.61 ตร.ไมล์)
 • เขตเมือง389.48 ตร.กม. (150.38 ตร.ไมล์)
 • รวมปริมณฑล3,217.98 ตร.กม. (1,242.47 ตร.ไมล์)
ประชากร
 (2010)
 • ทั้งจังหวัด3,531,347[1] คน
 • เขตเมือง3.83 ล้าน[2] คน
 • รวมปริมณฑล4.29 ล้าน[2] คน
 • องค์ประกอบของชาติพันธุ์
เขตเวลาUTC+8 (เวลามาตรฐานจีน)
รหัสไปรษณีย์361000
รหัสพื้นที่592
รหัส ISO 3166CN-FJ-02
GDP2019
 - รวมCNY 599.504 พันล้าน (US$86.904 พันล้าน)
 - ต่อหัวCNY 142,739 (US$20,691)
 - เติบโตเพิ่มขึ้น 7.9%
ป้ายทะเบียนรถ闽D
ภาษาภาษาจีนกลาง (ทางการ), ภาษาหมิ่นใต้สำเนียงอามอย (ภาษาถิ่น)
เว็บไซต์www.xm.gov.cn
เซี่ยเหมิน
"เซี่ยเหมิน" เขียนด้วยตัวอักษรจีนตัวย่อ (บน) และอักษรจีนตัวเต็ม (ล่าง)
อักษรจีนตัวย่อ厦门
อักษรจีนตัวเต็ม廈門
เป่อ่วยยีภาษาฮกเกี้ยนĒ-mn̂g หรือ Ē-mûi
ไปรษณีย์Amoy
ความหมายตามตัวอักษร"ประตูคฤหาสน์"[3]

เซี่ยเหมิน (จีน: 厦门市; อักษรโรมัน: Xiamen) เป็นเมืองในมณฑลฝูเจี้ยน มีชื่อตามภาษาฮกเกี้ยนว่า เอ้หมึง (Ē-mn̂g) หรือ เอ้มุย[4] ภาษาอังกฤษว่า อามอย (Amoy) หมายความว่า ประตูคฤหาสน์ เป็นเมืองที่อยู่บนเกาะ ห่างจากเกาะไต้หวันประมาณ 1 กิโลเมตร มีสัญลักษณ์เป็นนกกระยางขาว

ประวัติศาสตร์[แก้]

เมืองเอ้หมึงเป็นเมืองคนที่ชาวจีนอพยพเชื้อสายฮกเกี้ยนที่อพยพมามากที่สุดแห่งหนึ่งของเมืองในบรรดาชาวจีนอพยพ

เศรษฐกิจ[แก้]

เซี่ยเหมินเป็นเมืองท่าสำคัญ และเมื่อปี พ.ศ. 2524 (ค.ศ. 1981) เซี่ยเหมินได้กลายมาเป็นเขตเศรษฐกิจพิเศษ

สถานที่สำคัญ[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. "Communiqué of the National Bureau of Statistics of People's Republic of China on Major Figures of the 2010 Population Census (No. 1)". National Bureau of Statistics of China. 28 April 2011. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 8 November 2013. สืบค้นเมื่อ 12 February 2014.
  2. 2.0 2.1 2019
  3. Formerly "Lower Gate" (下門); see Name section.
  4. "จีนอคติต่อพระเจ้าตากรุนแรงในระยะแรก ทำไมยอมรับสถานะกษัตริย์ในภายหลัง". ศิลปวัฒนธรรม. 30 กันยายน 2562. สืบค้นเมื่อ 17 เมษายน 2563. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]