ซามีร์ คันดานอวิช

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก Samir Handanović)
ซามีร์ คันดานอวิช
คันดานอวิชกับทีมชาติสโลวีเนียในปี ค.ศ. 2015
ข้อมูลส่วนตัว
ชื่อเต็ม ซามีร์ คันดานอวิช[1]
วันเกิด (1984-07-14) 14 กรกฎาคม ค.ศ. 1984 (39 ปี)
สถานที่เกิด ลูบลิยานา เอสเอฟอาร์ยูโกสลาเวีย
ส่วนสูง 1.93 m (6 ft 4 in)[2]
ตำแหน่ง ผู้รักษาประตู
สโมสรเยาวชน
2002–2003 Domžale
สโมสรอาชีพ*
ปี ทีม ลงเล่น (ประตู)
2003–2004 Domžale 7 (0)
2003–2004Zagorje (ยืมตัว) 11 (0)
2004–2012 อูดีเนเซ 182 (0)
2005–2006เตรวีโซ (ยืมตัว) 3 (0)
2006ลาซีโอ (ยืมตัว) 1 (0)
2006–2007รีมีนี (ยืมตัว) 39 (0)
2012–2023 อินเตอร์มิลาน 380 (0)
ทีมชาติ
2001 สโลวีเนีย รุ่นอายุไม่เกิน 17 ปี 3 (0)
2003–2004 สโลวีเนีย รุ่นอายุไม่เกิน 20 ปี 4 (0)
2003–2006 สโลวีเนีย รุ่นอายุไม่เกิน 21 ปี 8 (0)
2004–2015 สโลวีเนีย 81 (0)
*นัดที่ลงเล่นและประตูที่ยิงให้แก่สโมสรเฉพาะลีกในประเทศเท่านั้น
ข้อมูลล่าสุด ณ วันที่ 11:28, 16 พฤษภาคม ค.ศ. 2018 (UTC)
‡ ข้อมูลการลงเล่นและประตูให้แก่ทีมชาติล่าสุด
ณ วันที่ 17 พฤศจิกายน ค.ศ. 2015

ซามีร์ คันดานอวิช (สโลวีเนีย: Samir Handanović; เกิดวันที่ 14 กรกฎาคม ค.ศ. 1984) เป็นผู้รักษาประตูฟุตบอลชาวสโลวีเนีย โดยเขาลงเล่นให้กับสโมสรฟุตบอลอินแตร์นาซีโอนาเลมีลาโน หรืออินเตอร์มิลานนานกว่า 11 ปี ในฤดูกาล 2010–11 เขาเซฟจุดโทษได้มากถึง 6 ครั้ง ทำสถิติเซฟจุดโทษมากที่สุดต่อหนึ่งฤดูกาล เทียบเท่าฤดูกาล 1948–49[3]

คันดานอวิชลงเล่นทีมชาติครั้งแรกในปี ค.ศ. 2004 จนถึงปัจจุบัน เขาลงเล่นไปแล้ว 81 นัด เป็นผู้เล่นที่ลงเล่นให้กับทีมชาติสโลวีเนียมากเป็นอันดับที่สอง และมากที่สุดสำหรับตำแหน่งผู้รักษาประตู เขาเคยเล่นให้ทีมชาติในการแข่งขันฟุตบอลโลก 2010[4]

เขาถูกยกย่องให้เป็นหนึ่งในผู้รักษาประตูที่ดีที่สุด[5][6] และเป็น 1 ใน 3 ผู้รักษาประตูที่ไม่ใช่ชาวอิตาลีที่สามารถคว้ารางวัลผู้รักษาประตูแห่งปีของเซเรียอา โดยเขาได้รับรางวัลนี้ 2 ครั้ง เขาได้รับฉายา แบทแมน อันเนื่องมาจากท่าทางของเขา[7]

เกียรติประวัติ[แก้]

บุคคล[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. "FIFA World Cup South Africa 2010: List of Players" (PDF). FIFA. 4 June 2010. p. 27. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2019-05-18. สืบค้นเมื่อ 16 April 2014.
  2. "Samir Handanović". inter.it. 23 December 2015. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-12-09. สืบค้นเมื่อ 23 December 2015.
  3. Dario Dotto (9 May 2011). "Handanoviču uspelo, kar ni svetovnim legendam 62 let" (ภาษาสโลวีเนีย). Siol. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-05-10. สืบค้นเมื่อ 9 May 2011.
  4. "SAMIR HANDANOVIC". Sporting-heroes.net. สืบค้นเมื่อ 22 October 2016.
  5. Roberto Di Maggio (25 December 2012). "IFFHS' World's Best Goalkeeper of the Year 2012". IFFHS. สืบค้นเมื่อ 8 October 2015.
  6. "David de Gea was excellent for Manchester United against Liverpool... but how does he rank in our top 10 of world keepers?". Daily Mail. 15 December 2014. สืบค้นเมื่อ 15 September 2015.
  7. "Handanovic: 'Io non sono Batman'" [Handanovic: 'I'm not Batman'] (ภาษาอิตาลี). Calcio Mercato. 7 December 2014. สืบค้นเมื่อ 4 January 2016.
  8. "GLI OSCAR: MILAN AL TOP" [The Oscars: Milan on Top] (ภาษาอิตาลี). A.C. Milan.com. 24 January 2012. สืบค้นเมื่อ 23 December 2015.
  9. "Pirlo e Conte distinguidos em Itália" [Pirlo and Conte distinguished in Italy] (ภาษาโปรตุเกส). ZeroZero. 28 January 2014. สืบค้นเมื่อ 28 January 2014.
  10. "Albo d'Oro". assocalciatori.it. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 15 May 2013. สืบค้นเมื่อ 15 September 2015.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]

ก่อนหน้า ซามีร์ คันดานอวิช ถัดไป
เมาโร อิการ์ดิ
กัปตันสโมสรฟุตบอลอินแตร์นาซีโอนาเลมีลาโน
(ค.ศ. 2019–2023)
ยังอยู่ในตำแหน่ง