ปีกหลังของไขสันหลัง
หน้าตา
(เปลี่ยนทางจาก Posterior horn of spinal cord)
ปีกหลังของไขสันหลัง (Posterior horn of spinal cord) | |
---|---|
รายละเอียด | |
ตัวระบุ | |
ภาษาละติน | cornu posterius medullae spinalis |
MeSH | D066148 |
TA98 | A14.1.02.115 A14.1.02.023 A14.1.02.114 |
TA2 | 6064 |
FMA | 256530 |
อภิธานศัพท์กายวิภาคศาสตร์ |
ปีกหลัง (อังกฤษ: "posterior horn" หรือ "posterior cornu" หรือ "dorsal horn" หรือ "spinal dorsal horn") ของไขสันหลัง (อังกฤษ: "of spinal cord") เป็นส่วนของเนื้อเทาที่ยื่นออกไปทางด้านหลังของไขสันหลัง มีหน้าที่รับข้อมูลเกี่ยวกับความรู้สึกต่าง ๆ จากกาย รวมทั้งความสัมผัสเบา การรับรู้อากัปกิริยา (proprioception) และแรงสั่นสะเทือน ข้อมูลเกี่ยวกับความรู้สึกเหล่านี้มาจากหน่วยรับความรู้สึกที่ผิวหนัง กระดูก และข้อต่อ ของเซลล์ประสาทรับความรู้สึกที่มีตัวเซลล์อยู่ที่ปมประสาทรากหลัง (dorsal root ganglion)
กายวิภาค
[แก้]ปีกเนื้อเทาด้านหลังแบ่งออกเป็นชั้น ๆ แต่ละชั้นมีชื่อเป็นต้นว่า
- Marginal lamina (ชั้น I)
- Substantia gelatinosa (ชั้น II)
- Nucleus proprius (ชั้น III และ IV)
ส่วนชั้นอื่น ๆ อยู่ในส่วนอื่น ๆ ของเนื้อเทาในไขสันหลัง นอกปีกหลังของไขสันหลัง
ภาพต่าง ๆ
[แก้]-
รูปผ่าของ medulla oblongata โดยผ่าผ่านส่วนล่างของ decussation of the pyramids