สโมสรกีฬากลางแห่งกองทัพบก โซเฟีย

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก PFC CSKA Sofia)
PFC CSKA โซเฟีย
ชื่อเต็มสโมสรกีฬากลางแห่งกองทัพบก โซเฟีย
ฉายาАрмейците (ชายชาติทหาร)
Червените (กองทัพสีแดง)
ชื่อย่อCSKA Sofia
ก่อตั้ง5 พฤษภาคม 1948; 75 ปีก่อน (1948-05-05)
สนามสนามกีฬากองทัพบกบัลแกเรีย
Ground ความจุ22,995 ที่นั่ง
เจ้าของร่วมกริชา กันเชฟ (38.5%)
ยูลีอัน อินด์ชอฟ (38.5%)
ฮริสตอ สตออิชคอฟ (20.0%)
หัวหน้าผู้ฝึกสอนแอลัน พาร์ดิว
ลีกเฟิสต์ลีก
2021–22เฟิสต์ลีก, อันดับที่ 2 จาก 14
เว็บไซต์เว็บไซต์สโมสร
สีชุดทีมเยือน
สีชุดที่สาม
ฤดูกาลปัจจุบัน

สโมสรกีฬากลางแห่งกองทัพบก (บัลแกเรีย: Централен Спортен Клуб на Армията) เป็นสโมสรฟุตบอลอาชีพบัลแกเรียที่ตั้งอยู่ที่โซเฟีย ปัจจุบันแข่งขันในลีกฟุตบอลสูงสุดของประเทศอย่างเฟิสต์ลีก

สโมสรก่อตั้งอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม ค.ศ. 1948 แต่ก่อนหน้านี้ ก่อตั้งขึ้นในฐานะสโมสรของเจ้าหน้าที่ทหารใน ค.ศ. 1923[1] สโมสรคว้าแชมป์ลีกของบัลแกเรียนมากที่สุดที่ 31 สมัย และคว้าแชมป์บัลแกเรียนคัพมากที่สุดที่ 20 สมัย[2][3] ส่วนในการแข่งขันระหว่างประเทศ กองทัพบกเป็นเพียงสโมสรเดียวจากบัลแกเรียที่เคยเข้าถึงรอบรองชนะเลิศยูโรเปียนคัพ ซึ่งพวกเขาทำได้ถึงสองครั้ง นอกจากนี้ ยังเคยเข้าถึงรอบรองชนะเลิศยูฟ่าคัพวินเนอร์สคัพอีกหนึ่งครั้งด้วยเช่นกัน[4]

สีเสื้อเหย้าของสโมสรคือสีแดงและสีขาว สนามเหย้าใช้สนามกีฬากลางกองทัพบกบัลแกเรีย คู่ปรับที่สำคัญของสโมสรคือเลฟสกีโซเฟีย ซึ่งการพบกันของทั้งคู่นั้น ถูกเรียกว่า "ดาร์บีนิรันดร์กาลแห่งบัลแกเรีย"

เกียรติประวัติ[แก้]

ในประเทศ[แก้]

บัลแกเรียน เอ กรุ๊ป:

  • ชนะเลิศ (31) (สูงสุด): 1948, 1951, 1952, 1954, 1955, 1956, 1957, 1958, 1958–59, 1959–60, 1960–61, 1961–62, 1965–66, 1968–69, 1970–71, 1971–72, 1972–73, 1974–75, 1975–76, 1979–80, 1980–81, 1981–82, 1982–83, 1986–87, 1988–89, 1989–90, 1991–92, 1996–97, 2002–03, 2004–05, 2007–08

บัลแกเรียน วี กรุ๊ป:

  • ชนะเลิศ (1) : 2015–16

บัลแกเรียนคัพ:

  • ชนะเลิศ (20): 1951, 1954, 1955, 1960–61, 1964–65, 1968–69, 1971–72, 1972–73, 1973–74, 1982–83, 1984–85, 1986–87, 1987–88, 1988–89, 1992–93, 1996–97, 1998–99, 2005–06, 2010–11, 2015–16

บัลแกเรียนซูเปอร์คัพ:

  • ชนะเลิศ (4) (สูงสุด): 1989, 2006, 2008, 2011

บัลแกเรียนคัพ – (การแข่งขันอย่างไม่เป็นทางการ)[5]

  • ชนะเลิศ (1): 1981

คัพออฟโซเวียตอาร์มี[5]

  • ชนะเลิศ (4): 1985, 1986, 1989, 1990

ยุโรป[แก้]

ยูโรเปียนคัพ / ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก

  • รอบรองชนะเลิศ (2): 1966–67, 1981–82
  • รอบก่อนรองชนะเลิศ (4): 1956–57, 1973–74, 1980–81, 1989–90

ยูฟ่าคัพ / ยูฟ่ายูโรปาลีก:

  • รอบที่ 2 (รอบ 32 ทีมสุดท้าย) – 1984–85, 1991–92,1998–99, 2001–02
  • รอบแบ่งกลุ่ม (3): 2005–06, 2009–10, 2010–11

ยูโรเปียนคัพวินเนอร์สคัพ / ยูฟ่าคัพวินเนอร์สคัพ

  • รอบรองชนะเลิศ (1): 1988–89

ชัยชนะครั้งใหญ่ที่สุดในการแข่งขันระดับทวีปยุโรป:

  • ยูโรเปียนคัพ – 8–1 ในฤดูกาล 1956–57 พบ ดีนาโมบูคาเรสติ
  • ยูฟ่าคัพ – 8–0 ในฤดูกาล 2000–01 พบ คอนสตรักตอรูล
  • ยูฟ่าคัพวินเนอร์สคัพ – 9–0 ในฤดูกาล 1970–71 พบ ฮากา

ถ้วยรางวัลอื่น ๆ[แก้]

ถ้วยมุฮัมมัดที่ 5 แห่งโมร็อกโก:[1]

  • ชนะเลิศ (1): 1967

Thöle-Pokal, เยอรมนี:[6]

  • ชนะเลิศ (1): 2003

อะโรนาคัพ สเปน:[7]

  • ชนะเลิศ (1): 2004

Martyrs of 17 February Cup, ลิเบีย:[8]

  • ชนะเลิศ (1): 2012

อ้างอิง[แก้]

  1. Court: CSKA is the Official Successor to AS-23 (in Bulgarian) Dnes.bg Retrieved 24 October 2017.
  2. ЕООД, Български футбол. "Вечна ранглиста на А група " Спечелени точки". bgclubs.eu. สืบค้นเมื่อ 3 May 2017.
  3. Europe's Club of the Century เก็บถาวร 24 พฤษภาคม 2012 ที่ archive.today International Federation of Football History and Statistics. Retrieved 5 April 2010.
  4. UEFA Champions League – History – CSKA Sofia UEFA.com Retrieved 22 December 2011.
  5. 5.0 5.1 "Bulgaria Cups Overview". สืบค้นเมื่อ 28 September 2015.
  6. "Werder Bremen – ZSKA Sofia 5:7 n.E. (3:3, 2:3)". สืบค้นเมื่อ 28 September 2015.
  7. "[ЦСКА взе купа в Испания". สืบค้นเมื่อ 28 September 2015.
  8. "[CSKA Sofia Win First Feb 17 Tournament". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-09-29. สืบค้นเมื่อ 28 September 2015.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]