ข้ามไปเนื้อหา

ท่าอากาศยานนานาชาติกว่างโจวไป๋-ยฺหวิน

พิกัด: 23°23′33″N 113°17′56″E / 23.39250°N 113.29889°E / 23.39250; 113.29889
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก Guangzhou Baiyun International Airport)
ท่าอากาศยานนานาชาติกว่างโจวไป๋-ยฺหวิน

广州白云国际机场

กว่างโจว ไป๋-ยฺหวิน กั๋วจี้ จีฉ่าง
ทางเข้าอาคาร 2
ข้อมูลสำคัญ
การใช้งานพาณิชย์
เจ้าของ广州白云国际机场股份有限公司
บ. ท่าอากาศยานนานาชาติกว่างโจวไป๋-ยฺหวิน
ผู้ดำเนินงาน广东省机场管理集团有限公司
กลุ่มบริษัทจัดการท่าอากาศยานกวางตุ้ง
พื้นที่บริการกว่างโจว
ที่ตั้งอำเภอไป๋-ยฺหวิน–อำเภอฮฺวาตู, กว่างโจว
ฐานการบิน
เมืองสำคัญ
เหนือระดับน้ำทะเล49 ฟุต / 15 เมตร
พิกัด23°23′33″N 113°17′56″E / 23.39250°N 113.29889°E / 23.39250; 113.29889
เว็บไซต์GBIA
แผนที่
CANตั้งอยู่ในมณฑลกวางตุ้ง
CAN
CAN
ที่ตั้งในมณฑลกวางตุ้ง
ทางวิ่ง
ทิศทาง ความยาว พื้นผิว
ฟุต เมตร
01/19 3,600 คอนกรีต
02L/20R 3,800 คอนกรีต
02R/20L 3,800 คอนกรีต
สถิติ (2014)
ผู้โดยสาร54,780,346 คน
สินค้า1,454,043.8 ตัน
เที่ยวบิน412,210 เที่ยว
แหล่งข้อมูล: สถิติจาก CAAC[1]
ท่าอากาศยานนานาชาติกว่างโจวไป๋-ยฺหวิน
อักษรจีนตัวย่อ广州白云国际机场
อักษรจีนตัวเต็ม廣州白雲國際機場

ท่าอากาศยานนานาชาติกว่างโจวไป๋-ยฺหวิน (อังกฤษ: Guangzhou Baiyun International Airport) (IATA: CANICAO: ZGGG) เป็นท่าอากาศยานหลักของนครกว่างโจว เมืองหลวงของมณฑลกวางตุ้งในประเทศจีน

ท่าอากาศยานแห่งนี้ตั้งอยู่ในอำเภอไป๋-ยฺหวินและอำเภอฮฺวาตูของนครกว่างโจว เปิดทำการเมื่อวันที่ 5 สิงหาคม 2004 เพื่อทดแทนท่าอากาศยานแห่งเก่าที่มีอายุกว่า 72 ปี ท่าอากาศยานแห่งใหม่นี้สร้างขึ้นด้วยงบประมาณกว่า 1.98 หมื่นล้านหยวน มีที่ตั้งห่างจากตัวเมืองกว่างโจวไปทางเหนือราว 27 กิโลเมตร และมีขนาดใหญ่กว่าท่าอากาศยานเดิมถึงเกือบห้าเท่า คำว่า "ไป๋-ยฺหวิน" (白云) นั้นเป็นชื่อของภูเขาที่อยู่ใกล้เคียงท่าอากาศยานแห่งเก่า (ไป๋-ยฺหวินชาน) มีความหมายว่า "เมฆขาว"

ก่อนหน้านี้ท่าอากาศยานแห่งใหม่นี้มีศักยภาพในการรองรับผู้โดยสารได้ 45 ล้านคนต่อปีจากการใช้งานอาคารรับส่งผู้โดยสารที่ 1 เพียงอาคารเดียว ในปี 2555 จึงได้เริ่มโครงการขยายท่าอากาศยานซึ่งรวมถึงอาคารผู้โดยสารหลังที่สองขนาด 658,000 ตารางเมตร และทางวี่งที่สาม แล้วเสร็จในปี 2562 ทำให้ท่าอากาศยานมีศักยภาพในการรองรับผู้โดยสารได้ 80 ล้านคน และปริมาณสินค้า 25 ล้านตันต่อปี

ในปี 2562 จากสถิติการใช้งาน ท่าอากาศยานนานาชาติกว่างโจวไป่-ยฺหวินเป็นท่าอากาศยานที่มีผู้โดยสารพลุกพล่านมากเป็นอันดับ 3 ของประเทศจีน และอันดับ 13 ของโลกโดยมีผู้โดยสาร 73.38 ล้านคน เครือข่ายเส้นทางบินท่าอากาศยานไป๋-ยฺหวินครอบคลุมจุดหมายปลายทางระหว่างประเทศกว่า 220 ปลายทางทั่วโลก รวมถึงระดับภูมิภาคเกือบ 90 ปลายทาง รองรับสายการบินจีนและต่างประเทศเกือบ 80 สายการบิน

สายการบินและจุดหมายปลายทาง

[แก้]
ประเทศปลายทางจากท่าอากาศยานกว่างโจว (รวมถึงเที่ยวบินเหมาลำ)
สายการบิน จุดหมายปลายทาง อาคารผู้โดยสาร/ฝั่ง
9 Air ฉางชุน, ฮาร์บิน, Hailar, Manzhouli, หนานจิง, Urumqi, เวินโจว ภายในประเทศ A
Aeroflot มอสโก-เชเรเมเตียโว ระหว่างประเทศ
AirAsia โกตากีนาบาลู, กัวลาลัมเปอร์ ระหว่างประเทศ
Air China ปักกิ่ง, เฉิงตู, ฉงชิ่ง, Dazhou, Guangyuan, กุ้ยหยาง, หางโจว, Hohhot, Jiuzhaigou, Luzhou, เซี่ยงไฮ้-หงเฉียว, เซี่ยงไฮ้-ผู่ตง, เทียนจิน, Tonghua, Wanzhou, อู่ฮั่น, Yuncheng ภายในประเทศ A
Air China
operated by Dalian Airlines
ต้าเหลียน ภายในประเทศ A
Air France ปารีส-ชาร์ล เดอ โกล ระหว่างประเทศ
Air Madagascar Antananarivo, กรุงเทพ-สุวรรณภูมิ, Réunion ระหว่างประเทศ
All Nippon Airways โตเกียว-ฮะเนะดะ (begins 25 October 2015),[2] โตเกียว-นะริตะ ระหว่างประเทศ
Asiana Airlines ปูซาน, โซล-อินช็อน ระหว่างประเทศ
Beijing Capital Airlines เฉิงตู, ฉงชิ่ง, Haikou, หางโจว, ลี่เจียง, Sanya ภายในประเทศ A
Cambodia Angkor Air พนมเปญ, เสียมราฐ ระหว่างประเทศ
Cebu Pacific มะนิลา ระหว่างประเทศ
Chengdu Airlines เฉิงตู ภายในประเทศ B
China Airlines ไทเป-เถายฺเหวียน ระหว่างประเทศ
China Eastern Airlines Baoshan, ปักกิ่ง,[3] เฉิงตู, หางโจว, Hefei, Huai'an, Jiayuguan, จี่หนาน, คุนหมิง, Lanzhou, ลี่เจียง, Lincang, Luliang, Mangshi, Nanchang, นานจิง, หนิงปัว, Ordos, ชิงเต่า, เซี่ยงไฮ้-หงเฉียว, เซี่ยงไฮ้-ผู่ตง, Taiyuan, Taizhou, เทียนจิน, Wenshan, Wenzhou, อู่ฮั่น, Wuxi, ซีอาน, Xichang, Xishuangbanna, Yichang, Yinchuan ภายในประเทศ B
China Southern Airlines Anqing, Anshan, Anshun, Baishan, เปาโถว, Beihai, ปักกิ่ง, Bijie, ฉางชุน, Changde, Changsha, Changzhi, ฉางโจว, เฉิงตู, Chizhou, ฉงชิ่ง, ต้าหลี่, ต้าเหลียน, Daqing, Datong, Enshi, แฟรงก์เฟิร์ต1, Fuyang, ฝูโจว, Ganzhou, Guilin, กุ้ยหยาง, Haikou, Handan, หางโจว, ฮาร์บิน, Hefei, Hohhot, Huaihua, Huangshan, Jiamusi, Jieyang, จี่หนาน, Jinggangshan, Jining, Jixi, Kaili,[4] Kashgar, คุนหมิง, Lanzhou, Lhasa, Lianyungang, Libo, ลี่เจียง, Liping, Liuzhou, ลัวหยาง, Meixian, Mianyang, มอสโก-เชเรเมเตียโว1, Mudanjiang, Nanchang, หนานจง, นานจิง, Nanning, นานตง, Nanyang, หนิงปัว, Nyingchi, Qianjiang, ชิงเต่า, Qiqihar, โรม-ฟีอูมีชีโน (begins 16 December 2015),1[5] Sanya, เซี่ยงไฮ้-หงเฉียว, เซี่ยงไฮ้-ผู่ตง, เสิ่นหยาง, ฉือเจียจวง, Taiyuan, เทียนจิน, Tongren, Urumqi, Weihai, Wenzhou, อู่ฮั่น, Wuxi, เซี่ยเหมิน, ซีอาน, Xiangyang, Xingyi, Xining, Xuzhou, Yancheng, Yangzhou, Yantai, Yanji, Yichang, Yinchuan, Yiwu, Yulin, Zhangjiajie, Zhanjiang, เจิ้งโจว, Zunyi ภายในประเทศ B
China Southern Airlines อัมสเตอร์ดัม, ออกแลนด์, กรุงเทพ-สุวรรณภูมิ, บริสเบน, ปูซาน, เชียงใหม่, ไครสต์เชิร์ช (begins 11 December 2015),[6] เดลี, Denpasar/Bali, ธากา, ดูไบ, ฟุกุโอะกะ, ฮานอย, นครโฮจิมินห์, จาการ์ตา-ซูการ์โน-ฮัตตา, เชจู, กาฐมาณฑุ, โกตากีนาบาลู (เริ่ม 1 ธันวาคม 2015),[7] กัวลาลัมเปอร์, ลอนดอน-ฮีทโธรว์, ลอสแอนเจลิส, Malé, มะนิลา, เมลเบิร์น, นะโงะยะ-เซ็นแทรร์ (begins 25 October 2015),[8] ไนโรบี-โจโม เคนยัตตา, นิวยอร์ก-เจเอฟเค, Nha Trang, โอซะกะ-คันไซ, ปารีส-ชาร์ล เดอ โกล, ปีนัง, เพิร์ธ, พนมเปญ, ภูเก็ต, ซานฟรานซิสโก, โซล-อินช็อน, เสียมราฐ, สิงคโปร์, ซิดนีย์, ไทเป-เถายฺเหวียน, โตเกียว-ฮะเนะดะ (begins 25 October 2015),[9] โตเกียว-นะริตะ (ends 24 October 2015),[9] Vancouver, ย่างกุ้ง
ฤดูกาล: Cairns, เกาะสมุย, โกตากีนาบาลู, Langkawi, ซัปโปะโระ
ระหว่างประเทศ
China Southern Airlines
operated by Chongqing Airlines
ฉงชิ่ง ภายในประเทศ B
China United Airlines ปักกิ่ง-หนานหยวน, ฉือเจียจวง ภายในประเทศ B
Dragonair ฮ่องกง ระหว่างประเทศ
EgyptAir ไคโร ระหว่างประเทศ
Emirates ดูไบ ระหว่างประเทศ
Ethiopian Airlines Addis Ababa ระหว่างประเทศ
EVA Air เกาสฺยง, ไทเป-เถายฺเหวียน ระหว่างประเทศ
Garuda Indonesia Denpasar/Bali, จาการ์ตา ระหว่างประเทศ
Hainan Airlines Baise, ปักกิ่ง, เฉิงตู, ฉงชิ่ง, ต้าเหลียน, ฝูโจว, กุ้ยหยาง, Haikou, หางโจว, ฮาร์บิน, Hefei, Jinzhou, นานจิง, หนิงปัว, ชิงเต่า, Sanya, เซี่ยงไฮ้-หงเฉียว, เสิ่นหยาง, Taiyuan, Tangshan, เทียนจิน, Urumqi, Weifang, Wenzhou, Wuhai, ซีอาน, Yan'an, Yinchuan, เจิ้งโจว ภายในประเทศ A
Hainan Airlines ไทเป-เถายฺเหวียน ระหว่างประเทศ
Hebei Airlines ฉือเจียจวง ภายในประเทศ B
Iraqi Airways แบกแดด ระหว่างประเทศ
Japan Airlines โตเกียว-ฮะเนะดะ (begins 25 October 2015),[10] โตเกียว-นะริตะ (ends 25 October 2015)[11] ระหว่างประเทศ
Juneyao Airlines ลี่เจียง, เซี่ยงไฮ้-หงเฉียว ภายในประเทศ A
Kenya Airways2 กรุงเทพ-สุวรรณภูมิ, Nairobi-Jomo Kenyatta ระหว่างประเทศ
Korean Air โซล-อินช็อน ระหว่างประเทศ
Kunming Airlines คุนหมิง ภายในประเทศ A
Lao Airlines เวียงจันทน์ ระหว่างประเทศ
Loong Air หางโจว ภายในประเทศ A
Mahan Air เตหะราน ระหว่างประเทศ
Malaysia Airlines กัวลาลัมเปอร์ ระหว่างประเทศ
Myanmar Airways International ย่างกุ้ง ระหว่างประเทศ
Okay Airways เทียนจิน ภายในประเทศ A
Orient Thai Airlines กรุงเทพ-ดอนเมือง ระหว่างประเทศ
Philippine Airlines มะนิลา ระหว่างประเทศ
Qatar Airways โดฮา ระหว่างประเทศ
Royal Jordanian3 Amman-Queen Alia (begins 2 December 2015)[12] ระหว่างประเทศ
Saudia ญิดดะฮ์, ริยาด ระหว่างประเทศ
Shaheen Air ลาฮอร์ (begins 1 November 2015)[13] ระหว่างประเทศ
Shandong Airlines จี่หนาน, ชิงเต่า, Wuyishan, Yantai, เซี่ยเหมิน ภายในประเทศ A
Shanghai Airlines หางโจว, นานจิง, เซี่ยงไฮ้-หงเฉียว, เซี่ยงไฮ้-ผู่ตง, Wenzhou, เซี่ยเหมิน ภายในประเทศ B
Shenzhen Airlines เปาโถว, ฉางชุน, ฉางโจว, เฉิงตู, ต้าเหลียน, Haikou, ฮาร์บิน, Hefei, Hohhot, จี่หนาน, Jingdezhen, คุนหมิง, Lanzhou, Linyi, Nanchang, นานจิง, นานตง, หนิงปัว, ชิงเต่า, Quanzhou, เสิ่นหยาง, Taizhou, เทียนจิน, Wenzhou, อู่ฮั่น, Wuxi, ซีอาน, เซี่ยเหมิน, Xining, Yibin, Yichun(Jiangxi), Yinchuan, Zhoushan ภายในประเทศ A
Shenzhen Airlines ฤดูกาล: กรุงเทพ-สุวรรณภูมิ[14] ระหว่างประเทศ
Siam Air กรุงเทพ-ดอนเมือง ระหว่างประเทศ
Sichuan Airlines เฉิงตู, ฉงชิ่ง, หางโจว, Yinchuan ภายในประเทศ B
Sichuan Airlines เกาะไซปัน ระหว่างประเทศ
Singapore Airlines สิงคโปร์ ระหว่างประเทศ
Spring Airlines เซี่ยงไฮ้-หงเฉียว, ฉือเจียจวง ภายในประเทศ A
SriLankan Airlines กรุงเทพ-สุวรรณภูมิ, โคลัมโบ ระหว่างประเทศ
T'way Airlines เหมาลำ: เชจู ระหว่างประเทศ
Thai AirAsia กรุงเทพ-ดอนเมือง, กระบี่ ระหว่างประเทศ
Thai Airways กรุงเทพ-สุวรรณภูมิ ระหว่างประเทศ
Tigerair สิงคโปร์ ระหว่างประเทศ
Turkish Airlines Istanbul-Atatürk ระหว่างประเทศ
Uni Air Taichung ระหว่างประเทศ
Vietnam Airlines ฮานอย, นครโฮจิมินห์, ดานัง ระหว่างประเทศ
West Air ฉงชิ่ง ภายในประเทศ A
เซี่ยเหมิน Air ฝูโจว, หางโจว, ฉวนโจว, เซี่ยเหมิน ภายในประเทศ B

อาคารรับส่งผู้โดยสาร

[แก้]
แผนผังท่าอากาศยานกว่างโจวไป๋-ยฺหวิน

อาคารรับส่งผู้โดยสารที่ 1

[แก้]
ด้านหน้าอาคารผู้โดยสาร 1 จากถนนยกระดับในชั้นขาออก
โถงภายในอาคารผู้โดยสาร 1

อาคารผู้โดยสาร 1 มีสามองค์ประกอบคือ อาคารผู้โดยสารหลัก อาคารเทียบเครื่องบิน (ฝั่ง) A และ อาคารเทียบเครื่องบิน (ฝั่ง) B

เคาน์เตอร์เช็คอินและร้านค้าปลีกส่วนใหญ่จะอยู่ที่อาคารหลักและมีทางเดินเชื่อมสู่อาคารเทียบเครื่องบินทั้งสองข้าง ภายในอาคารเทียบเครื่องบิน A และ B มีการดำเนินงานแยกเป็นเอกเทศทั้งสองอาคาร คือ จุดตรวจรักษาความปลอดภัย ประตูขึ้นเครื่อง การตรวจคนเข้าเมือง ด่านศุลกากรและกักกัน การรับสัมภาระเดินทาง และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เกี่ยวข้อง

การให้บริการของอาคารผู้โดยสาร 1

[แก้]
ชั้น อาคารและการให้บริการ รายละเอียดของการให้บริการ
4F การบริการวีไอพี ห้องรับรองผู้โดยสาร VIP ท่าอากาศยานไป๋-ยฺหวิน
3F โถงขาออก การเช็คอินเที่ยวบินภายในประเทศ, การเช็คอินเที่ยวบินระหว่างประเทศ และ ฮ่องกง มาเก๊า ไต้หวัน

ห้องรับรองผู้โดยสาร VIP แอร์ไชน่า, ห้องรับรองผู้โดยสาร VIP ท่าอากาศยานไป๋-ยฺหวิน

อาคารเทียบเครื่องบิน

A ขาออก

สำหรับเที่ยวบินระหว่างประเทศ และ ฮ่องกง มาเก๊า ไต้หวัน (รวมถึง การตรวจความปลอดภัยก่อนขึ้นเครื่อง ศุลกากรและกักกัน การตรวจคนเข้าเมือง)

ร้านค้าปลอดภาษี, ห้องรับรองผู้โดยสาร VIP, ประตูขึ้นเครื่องระหว่างประเทศ และ ฮ่องกง มาเก๊า ไต้หวัน (ประตู A101-A123)

สำหรับเที่ยวบินภายในประเทศ (รวมถึง การตรวจความปลอดภัยก่อนขึ้นเครื่อง)

ห้องรับรองผู้โดยสาร VIP, ร้านค้า, ประตูขึ้นเครื่องภายในประเทศ (A124-A133)

อาคารเทียบเครื่องบิน

B ขาออก

สำหรับเที่ยวบินภายในประเทศ (รวมถึง การตรวจความปลอดภัยก่อนขึ้นเครื่อง)

ห้องรับรองผู้โดยสาร VIP, ร้านค้า, ประตูขึ้นเครื่องภายในประเทศ (B201-B235)

2F โถงขาเข้า และ

การเปลี่ยนเครื่องต่อ

ประตูขาเข้าเที่ยวบินภายในประเทศ ประตูขาเข้าเที่ยวบินระหว่างประเทศ และ ฮ่องกง มาเก๊า ไต้หวัน

พื้นที่การตรวจคนเข้าเมืองของเที่ยวบินระหว่างประเทศ

1F โถงขาเข้า การเช็คอินเที่ยวบินภายในประเทศ

พื้นที่เชิงพาณิชย์

ลานจอดรถ

ประตูขึ้นเครื่องหลุมจอดระยะไกล

(เข้าถึงได้เฉพาะจากชั้น 3F เท่านั้น)

ประตูขึ้นเครื่องเที่ยวบินระหว่างประเทศ และ ฮ่องกง มาเก๊า ไต้หวัน (A01-A12)
ประตูขึ้นเครื่องเที่ยวบินภายในประเทศหลุมจอดระยะไกล (A13-A18) ต่อด้วยรถรับส่งขึ้นเครื่อง
ประตูขึ้นเครื่องเที่ยวบินภายในประเทศหลุมจอดระยะไกล (B01-B18) ต่อด้วยรถรับส่งขึ้นเครื่อง
อาคารเทียบเครื่องบิน

A ขาเข้า

พื้นที่รับกระเป๋าสัมภาระสำหรับเที่ยวบินภายในประเทศ, พื้นที่รับกระเป๋าสัมภาระสำหรับเที่ยวบินระหว่างประเทศ และ ฮ่องกง มาเก๊า ไต้หวัน

การรักษาความปลอดภัย ศุลกากรและกักกัน การตรวจคนเข้าเมือง สำหรับเที่ยวบินระหว่างประเทศ และ ฮ่องกง มาเก๊า ไต้หวัน

อาคารเทียบเครื่องบิน

B ขาเข้า

พื้นที่รับกระเป๋าสัมภาระสำหรับเที่ยวบินภายในประเทศ
-1F พื้นที่สาธารณะชั้นใต้ดิน ระเบียงท้องฟ้าและทะเล (เพื่อไปยังอาคารเทียบเครื่องบิน A)

อุโมงค์กาลเวลา (เพื่อไปยังอาคารเทียบเครื่องบิน B)

สถานีรถไฟฟ้าใต้ดินใต้สนามบิน และ อาคารจอดรถ

อาคารรับส่งผู้โดยสารที่ 2

[แก้]
ด้านหน้าอาคารผู้โดยสาร 2 จากถนนยกระดับในชั้นขาออก
โถงภายในอาคารผู้โดยสาร 2
สวนไม้ดอกภายในอาคารผู้โดยสาร 2
รายละเอียดเพดานของอาคารผู้โดยสาร 2

อาคารผู้โดยสาร 2 เปิดเมื่อวันที่ 26 เมษายน 2561 โดยมีพื้นที่กว่า 658,000 ตารางเมตร ทำให้เป็นหนึ่งในอาคารท่าอากาศยานที่ใหญ่ที่สุดในโลก เมื่อาคารผู้โดยสาร 2 ดำเนินการอย่างเป็นทางการปกติแล้วจะเป็นท่าอากาศยานหลักของ ไชนาเซาเทิร์นแอร์ไลน์ นอกจากนี้สายการบินส่วนใหญ่ในพันธมิตรทางการบิน SkyTeam จะเข้าใช้งานในอาคาร 2 ด้วยเช่นกัน


อ้างอิง

[แก้]
  1. 2014年全国机场生产统计公报 (ภาษาจีน). Civil Aviation Administration of China. 2015-04-03.
  2. "ANA Expands Tokyo Haneda - China Service in W15". Airlineroute.net. 6 August 2015. สืบค้นเมื่อ 6 August 2015.
  3. "China Eastern to Launch Beijing - Guangzhou Route from June 2015". Airlineroute.net. 14 May 2015. สืบค้นเมื่อ 14 May 2015.
  4. http://news.carnoc.com/list/317/317674.html
  5. http://airlineroute.net/2015/08/27/cz-fcochc-w15/
  6. "【@中国南方航空 将开通广州-基督城航线】". overseas.weibo.com. July 29, 2015. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-03-04. สืบค้นเมื่อ July 29, 2015.
  7. Mark Elliott, บ.ก. (8 September 2015). "China Southern adds more Malaysian connections". Travel Daily.
  8. "China Southern W15 Nagoya Operation Changes". Airlineroute.net. 18 August 2015. สืบค้นเมื่อ 18 August 2015.
  9. 9.0 9.1 "China Southern to Start Guangzhou - Tokyo Haneda Flight from late-Oct 2015". Airlineroute.net. 10 August 2015. สืบค้นเมื่อ 10 August 2015.
  10. http://airlineroute.net/2015/08/30/jl-hndchina-w15/
  11. "JAL W15 Tokyo Narita - China Service Changes". Airlineroute.net. 31 August 2015. สืบค้นเมื่อ 31 August 2015.
  12. "Royal Jordanian East Asia Network Changes from Dec 2015". Airlineroute.net. 7 September 2015. สืบค้นเมื่อ 7 September 2015.
  13. "Shaheen Air Guangzhou schedule". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-09-28. สืบค้นเมื่อ 2015-09-26.
  14. "Shanezhen Airlines Adds Guangzhou - Bangkok Service in Sep/Oct 2015". Airlineroute.net. 20 August 2015. สืบค้นเมื่อ 20 August 2015.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]