คลอกซาซิลลิน

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก Cloxacillin)
คลอกซาซิลลิน
ข้อมูลทางคลินิก
ชื่อทางการค้าCloxapen
AHFS/Drugs.comMicromedex Detailed Consumer Information
ระดับความเสี่ยงต่อทารกในครรภ์
  • US: B (ไม่มีความเสี่ยงในสัตว์)
ช่องทางการรับยาบริโภคทางปาก หรือฉีดเข้ากล้ามเนื้อ
รหัส ATC
ข้อมูลเภสัชจลนศาสตร์
ชีวประสิทธิผล37 to 90%
การจับกับโปรตีน95%
ครึ่งชีวิตทางชีวภาพ30 นาทีถึง 1 ชั่วโมง
การขับออกไตและน้ำดี
ตัวบ่งชี้
  • (2S,5R,6R) -6-{[3- (2-chlorophenyl) -5-methyl-
    oxazole-4-carbonyl]amino}-3,3-dimethyl-7-oxo-
    4-thia-1-azabicyclo[3.2.0]heptane-2-carboxylic acid
เลขทะเบียน CAS
PubChem CID
DrugBank
ChemSpider
UNII
KEGG
ChEBI
ChEMBL
ECHA InfoCard100.000.468
ข้อมูลทางกายภาพและเคมี
สูตรC19H18ClN3O5S
มวลต่อโมล435.88 g/mol g·mol−1
แบบจำลอง 3D (JSmol)
  • O=C (O) [C@@H]3N4C (=O) [C@@H](NC (=O) c2c (onc2c1ccccc1Cl) C) [C@H]4SC3 (C) C
  • InChI=1S/C19H18ClN3O5S/c1-8-11 (12(22-28-8) 9-6-4-5-7-10 (9) 20) 15 (24) 21-13-16 (25) 23-14 (18(26) 27) 19 (2,3) 29-17 (13) 23/h4-7,13-14,17H,1-3H3, (H,21,24) (H,26,27)/t13-,14+,17-/m1/s1 checkY
  • Key:LQOLIRLGBULYKD-JKIFEVAISA-N checkY
  (verify)
สารานุกรมเภสัชกรรม

คลอกซาซิลลิน (อังกฤษ: Cloxacillin) เป็นยาปฏิชีวนะกึ่งสังเคราะห์ อยู่ในประเภทเดียวกับเพนิซิลลิน บริษัทบีแชม (Beecham) คิดค้นขึ้นเมื่อราวต้นพุทธทศวรรษที่ 2490 และพัฒนาเรื่อยมา[1] ยานี้ขายโดยใช้ชื่อทางการค้าหลายชื่อ เช่น คลอกซาเพน (Cloxapen) , คล็อกซาแคป (Cloxacap) , เทโกเพน (Tegopen) , ออร์เบนิน (Orbenin) และ เมคล็อก (Meicolx)

คลอกซาซิลลินใช้ต่อต้านเชื้อสแตฟิโลคอกคัส (staphylococcus) ซึ่งสร้างเอนไซม์บีตา-แลกตาเมส (beta-lactamase) อันก่อแบคทีเรียบางประเภท คลอกซาซิลลินมีฤทธิ์ต่อต้านแบคทีเรียน้อยกว่าเบนซิลเพนิซิลลิน (benzylpenicillin) ทว่า มีข้อดีคือมีความเป็นพิษน้อย เว้นแต่ในกรณีแพ้ยา

ในการศึกษาหนึ่ง ผู้ศึกษาได้ตั้งข้อสังเกตว่า เมื่อมีการใช้คลอกซาซิลลินมากขึ้นเรื่อย ๆ จะส่งผลให้แวนโคไมซิน (vancomycin) หรือยาปฏิชีวนะที่ใช้ต่อต้านแบคทีเรียทำนองเดียวกัน ได้รับการใช้น้อยลง[2]

อ้างอิง[แก้]

  1. David Greenwood (2008). Antimicrobial drugs: chronicle of a twentieth century medical triumph. Oxford University Press US. pp. 124–. ISBN 978-0-19-953484-5. สืบค้นเมื่อ 18 November 2010.
  2. Lawrence SL, Roth V, Slinger R, Toye B, Gaboury I, Lemyre B (2005). "Cloxacillin versus vancomycin for presumed late-onset sepsis in the Neonatal Intensive Care Unit and the impact upon outcome of coagulase negative staphylococcal bacteremia: a retrospective cohort study". BMC Pediatr. 5: 49. doi:10.1186/1471-2431-5-49. PMC 1343548. PMID 16375769.{{cite journal}}: CS1 maint: multiple names: authors list (ลิงก์)