67พี/ชูรูย์มอฟ–เกราซีเมนโค

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
67พี/ชูรูย์มอฟ–เกราซีเมนโค

ภาพของดาวหาง 67พี/ชูรูย์มอฟ–เกราซีเมนโค ถ่ายโดยยาน โรเซตตา
การค้นพบ
ค้นพบโดย:คลิม อีวาโนวิช ชูรูย์มอฟ สหภาพโซเวียต
สเวตลานา อีวานอฟนา เกราซีเมนโค
ค้นพบเมื่อ:20 กันยายน ค.ศ. 1969
หลักการค้นพบ:อัลมาเตอ ประเทศคาซัคสถาน
ชื่ออื่น ๆ:1969 R1, 1969 IV, 1969h
1975 P11976 VII, 1975i
1982 VIII, 1982f, 1989 VI, 1988i[1]
ลักษณะของวงโคจร[1]
ต้นยุคอ้างอิง 2014-Aug-10 (JD 2456879.5)
ระยะจุดไกล
ดวงอาทิตย์ที่สุด
:
5.6829 AU (850,150,000 km)
ระยะจุดใกล้
ดวงอาทิตย์ที่สุด
:
1.2432 AU (185,980,000 km)
กึ่งแกนเอก:3.4630 AU (518,060,000 km)
ความเยื้องศูนย์กลาง:0.64102
คาบดาราคติ:6.44 ปีจูเลียน
มุมกวาดเฉลี่ย:303.71°
ความเอียง:7.0405 °
ลองจิจูด
ของจุดโหนดขึ้น
:
50.147°
มุมของจุด
ใกล้ดวงอาทิตย์ที่สุด
:
12.780°
ลักษณะทางกายภาพ
มวล:(1.0±0.1)×1013 kg[2]
ความหนาแน่นเฉลี่ย:0.4 g/cm³[3]
ความเร็วหลุดพ้น:1 m/s (3 ft/s)[4] (ประมาณการ)
คาบการหมุน
รอบตัวเอง
:
12.4043±0.0007 ชั่วโมง[5]
เดคลิเนชัน
ของขั้วเหนือ:
64.00°[3]
อุณหภูมิพื้นผิว:
   ฟาเรนไฮต์
   เซลเซียส
ต่ำสุดเฉลี่ยสูงสุด
−90−45
−68−43

67พี/ชูรูย์มอฟ–เกราซีเมนโค (อังกฤษ: 67P/Churyumov–Gerasimenko) หรือเรียกสั้น ๆ ว่า 67พี เป็นดาวหางที่มีคาบดาราคติ 6.45 ปี[1] และมีคาบการหมุนรอบตัวเอง 12.4 ชั่วโมง[5] มีความเร็วสูงสุด 135,000 กิโลเมตร/ชั่วโมง[6] (38 กิโลเมตร/วินาที) ดาวหางมีขนาดราว 4.1 กิโลเมตร เช่นเดียวกับดาวหางอื่น ๆ ดาวหาง 67พี ได้รับการตั้งชื่อตามผู้ค้นพบ ซึ่งคือ คลิม ชูรูย์มอฟและสเวตลานา อีวานอฟนา เกราซีเมนโค นักดาราศาสตร์ชาวโซเวียต ซึ่งค้นพบดาวหางนี้เมื่อวันที่ 20 กันยายน ค.ศ. 1969

ดาวหาง 67พี ยังเป็นจุดหมายของยานอากาศ โรเซตตา ขององค์การอวกาศยุโรป ซึ่งได้ปล่อยจากฐานเมื่อ 2 มีนาคม 2004[7][8][9] ซึ่งโรเซตตาได้เดินทางถึง 67พี เมื่อวันที่ 6 สิงหาคม 2014[10][11] และเข้าสู่วงโคจรของ 67พี เมื่อวันที่ 10 กันยายน 2014[12] ก่อนที่ต่อมาในวันที่ 12 พฤศจิกายน 2014 โรเซตตาได้ปล่อยยานลูก ฟีเล ลงจอดบนดาวหาง 67พี นับเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ของมนุษยชาติที่มีการลงจอดบนดาวหาง[13][14][15]

ภาพ[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. 1.0 1.1 1.2 "JPL Small-Body Database Browser: 67P/Churyumov-Gerasimenko". NASA/Jet Propulsion Laboratory. 5 October 2013. สืบค้นเมื่อ 21 January 2014.
  2. Baldwin, Emily (21 August 2014). "Determining the mass of comet 67P/C-G". European Space Agency. สืบค้นเมื่อ 21 August 2014.
  3. 3.0 3.1 Baldwin, Emily (6 October 2014). "Measuring Comet 67P/C-G". European Space Agency. สืบค้นเมื่อ 7 October 2014.
  4. Dambeck, Thorsten (21 January 2014). "Expedition to primeval matter". Max-Planck-Gesellschaft. สืบค้นเมื่อ 19 September 2014.
  5. 5.0 5.1 Mottola, S.; Lowry, S.; Snodgrass, C.; Lamy, P. L.; Toth, I.; และคณะ (September 2014). "The rotation state of 67P/Churyumov-Gerasimenko from approach observations with the OSIRIS cameras on Rosetta". Astronomy and Astrophysics. 569. L2. Bibcode:2014A&A...569L...2M. doi:10.1051/0004-6361/201424590.
  6. Staff (2014). "Rosetta's Frequently Asked Questions". European Space Agency. สืบค้นเมื่อ 12 November 2014.
  7. Krolikowska, Malgorzata (2003). "67P/Churyumov–Gerasimenko – potential target for the Rosetta mission". Acta Astronomica. 53: 195–209. arXiv:astro-ph/0309130. Bibcode:2003AcA....53..195K.
  8. Agle, D. C.; และคณะ (17 January 2014). "Rosetta: To Chase a Comet". NASA. Release 2014-015. สืบค้นเมื่อ 18 January 2014.
  9. Chang, Kenneth (5 August 2014). "Rosetta Spacecraft Set for Unprecedented Close Study of a Comet". The New York Times. สืบค้นเมื่อ 5 August 2014.
  10. Fischer, D. (6 August 2014). "Rendezvous with a crazy world". The Planetary Society. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 6 August 2014. สืบค้นเมื่อ 6 August 2014.
  11. Bauer, Markus (6 August 2014). "Rosetta Arrives at Comet Destination". European Space Agency. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 6 August 2014. สืบค้นเมื่อ 6 August 2014.
  12. Scuka, Daniel (10 September 2014). "Down, down we go to 29 km – or lower?". European Space Agency. สืบค้นเมื่อ 20 September 2014.
  13. Agle, D. C.; และคณะ (12 November 2014). "Rosetta's 'Philae' Makes Historic First Landing on a Comet". NASA. สืบค้นเมื่อ 13 November 2014.
  14. Chang, Kenneth (12 November 2014). "European Space Agency's Spacecraft Lands on Comet's Surface". The New York Times. สืบค้นเมื่อ 12 November 2014.
  15. "Probe makes historic comet landing". BBC News. 12 November 2014. สืบค้นเมื่อ 12 November 2014.
  16. "VLT Tracks Rosetta's Comet". European Southern Observatory. 8 September 2014. สืบค้นเมื่อ 8 September 2014.

อ่านเพิ่มเติม[แก้]