สี่แพร่ง

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก 4 แพร่ง)
สี่แพร่ง
ใบปิดภาพยนตร์
กำกับ
บทภาพยนตร์
อำนวยการสร้าง
นักแสดงนำ
กำกับภาพ
ดนตรีประกอบ
บริษัทผู้สร้าง
จอกว้าง ฟิล์ม
ผู้จัดจำหน่ายจีทีเอช
วันฉาย24 เมษายน 2551
ความยาว112 นาที
ประเทศประเทศไทย
ภาษาภาษาไทย
ทำเงิน85 ล้านบาท[ต้องการอ้างอิง]
ต่อจากนี้
ข้อมูลจากสยามโซน

สี่แพร่ง เป็นภาพยนตร์ไทยแนวสยองขวัญที่ออกฉายในปี พ.ศ. 2551 กำกับโดย ยงยุทธ ทองกองทุน, ปวีณ ภูริจิตปัญญา, ภาคภูมิ วงศ์ภูมิ, บรรจง ปิสัญธนะกุล นำแสดงโดย มณีรัตน์ คำอ้วน, เฌอมาลย์ บุญยศักดิ์, วิทวัส สิงห์ลำพอง, อภิญญา สกุลเจริญสุข, ชล วจนานนท์, ณัฏฐพงษ์ ชาติพงษ์ และ กันตพัฒน์ สีดา[1] ทำรายได้รวม 85 ล้านบาท[2]

นักแสดง[แก้]

ดีวีดี[แก้]

ดีวีดีเรื่อง สี่แพร่ง ออกวางจำหน่ายและผลิตเองโดย จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ และ แกรมมี่บิ๊ก ซึ่งเป็นผลงานการผลิตของทาง Raccoon City มีอยู่ 2 รูปแบบคือแบบธรรมดา (2 แผ่น) และLimited Edition ที่แถมสินค้าพรีเมี่ยมโมเดลเครื่องบิน (2 แผ่นเช่นกัน) มีระบบภาพเป็น Widescreen Anamorphic 1.85.1 ระบบเสียงเป็นไทย Dolby Digital 5.1,2.0

แผ่นที่ 1
  • ภาพยนตร์
  • หลากหลายผู้คนพบกับที่สี่แพร่ง (Interview)
  • แพร่งแห่งความ "กลัว" (Music Video)
  • ภาพนิ่งทั้งสี่แพร่ง (Photo Gallery)
  • ตัวอย่างภาพยนตร์ (Trailers)
แผ่นที่ 2
  • เบื้องหลังการถ่ายทำ (The Making)
  • คุยภาพยนตร์สั้นขวัญผวา (Video Commentary)
  • บางแพร่งที่หายไป (Deleted Scene)
  • สื่อประชาสัมพันธ์ (Special VTRs)

เพลงประกอบภาพยนตร์[แก้]

รายได้[แก้]

หลังจากเข้าฉายในโรงภาพยนตร์ สี่แพร่งสามารถมากเกิน 70 ล้านทาง GTH จึงได้จัดงาน กริ๊ดเกินคาด 4แพร่งแรงสู่ 70 ล้าน โดยรวมรายได้ทั้งหมดอยู่ที่ 85 ล้านบาท

รางวัลและการเข้าชิง[แก้]

รางวัลที่ได้รับ[แก้]

  1. ลำดับภาพยอดเยี่ยม (วิชชพัชร์ โกจิ๋ว, ธรรมรัตน์ สุเมธศุภโชค, ปวีณ ภูริจิตปัญญา, สุรวุฒิ ตุงคะรักษ์)
  1. นักแสดงหญิงในบทสมทบจากภาพยนตร์ไทยแห่งปี (เฌอมาลย์ บุญยศักดิ์)

เข้าชิงรางวัล[แก้]

  1. ภาพยนตร์ยอดเยี่ยม (สี่แพร่ง)
  2. บทภาพยนตร์ยอดเยี่ยม (ยงยุทธ ทองกองทุน, ปวีณ ภูริจิตปัญญา, บรรจง ปิสัญธนะกูล, ภาคภูมิ วงศ์ภูมิ, เอกสิทธิ์ ไทยรัตน์)
  3. ลำดับภาพยอดเยี่ยม (วิชชพัชร์ โกจิ๋ว, ธรรมรัตน์ สุเมธศุภโชค, ปวีณ ภูริจิตปัญญา, สุรวุฒิ ตุงคะรักษ์)
  4. การสร้างภาพพิเศษยอดเยี่ยม (บริษัท โอเรียนทัล โพสท์ จำกัด)
  1. ภาพยนตร์ยอดเยี่ยม (สี่แพร่ง)
  2. นักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยม (มณีรัตน์ คำอ้วน)
  3. บทภาพยนตร์ยอดเยี่ยม (ยงยุทธ ทองกองทุน, ปวีณ ภูริจิตปัญญา, บรรจง ปิสัญธนะกูล, ภาคภูมิ วงศ์ภูมิ, เอกสิทธิ์ ไทยรัฐ )
  4. กำกับภาพยอดเยี่ยม (นิรมล รอสส์)
  5. กำกับศิลป์ยอดเยี่ยม (อรรคเดช แก้วโคตร, วุฒินันท์ สุจริตพงศ์, โสภณ พูลสวัสดิ์, ปรัชวิญณ์ เพ็ชรกรด และ คนึง ดำแก้ว)
  6. ลำดับภาพยอดเยี่ยม (วิชชพัชร์ โกจิ๋ว, ธรรมรัตน์ สุเมธศุภโชค, ปวีณ ภูริจิตปัญญา, สุรวุฒิ ตุงคะรักษ์)
  1. นักแสดงหญิงในบทสมทบจากภาพยนตร์ไทยแห่งปี (เฌอมาลย์ บุญยศักดิ์)
  2. นักแสดงหญิงในบทสมทบจากภาพยนตร์ไทยแห่งปี (มณีรัตน์ คำอ้วน)

อ้างอิง[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]