ข้ามไปเนื้อหา

ไฮเออโรกลีฟแบบตัวเขียน

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ส่วนหนึ่งของพาไพรัสแห่งอานีที่เขียนด้วยไฮเออโรกลีฟแบบตัวเขียน

ไฮเออโรกลีฟแบบตัวเขียน (อังกฤษ: Cursive hieroglyphs) เป็นรูปแบบของไฮเออโรกลีฟอียิปต์ที่ใช้เขียนเอกสารทางศาสนา เช่นคัมภีร์มรณะ[1] รูปแบบการเขียนนี้มักเขียนกับหมึกด้วยแปรงกกลงในพาไพรัส, ไม้ หรือหนัง[1]

ไฮเออโรกลีฟแบบตัวเขียนมีความแตกต่างกับรูปแบบไฮเออร์โลกลิฟต์ตัวเขียนจริงที่มีชื่อว่า ไฮอะแรติก (Hieratic) อย่างไรก็ตาม บางสัญลักษณ์มีอิทธิพลในรูปลักษณ์จากไฮอะแรติก หนึ่งในข้อแตกต่างสำคัญคือ การสอดคล้องของไฮเออโรกลีฟแบบตัวเขียนไม่มั่นคง โดยขึ้นอยู่กับเนื้อหาว่าเขียนจากซ้ายไปขวาหรือขวาไปซ้าย ในขณะที่ไฮอะแรติกเขียนด้วยขวาไปซ้ายเสมอ[2] ถึงแม้ว่าการเขียนขวาไปซ้ายเป็นรูปแบบที่นิยมที่สุดในไฮเออโรกลีฟแบบตัวเขียน แต่ส่วนใหญ่มักเขียนเป็นแนวตั้งมากกว่าแนวนอน[1]

อ้างอิง

[แก้]
  1. 1.0 1.1 1.2 Allen, James P. (2014). Middle Egyptian: An Introduction to the Language and Culture of Hieroglyphs (third ed.). Cambridge, UK: Cambridge University Press. p. 7.
  2. Davies 1990:93

บรรณานุกรม

[แก้]
  • Cruz-Uribe, Eugene. 2001. "Scripts: An Overview." In The Oxford Encyclopedia of Ancient Egypt, edited by Donald B. Redford. Vol. 3. Oxford, New York, and Cairo: Oxford University Press and The American University in Cairo Press. 192–198 [194–195].
  • Davies, W. V. (1990). "Egyptian Hieroglpyphs". ใน Hooker, J. T. (บ.ก.). Reading the Past: Ancient Writing from Cuneiform to the Alphabet. Berkeley: University of California Press. pp. 75–136. ISBN 978-0-520-07431-6.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]
  • วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ Cursive hieroglyphs