ไอโซโทปของฮีเลียม
หน้าตา
| |||||||||||||||||||||
Standard atomic weight Ar°(He) | |||||||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ถึงแม้จะมีอยู่ 9 ไอโซโทปที่รู้จักของฮีเลียม (2He) (น้ำหนักอะตอม: 4.002602(2)) แต่มีเพียงแค่ฮีเลียม-3 (3He) และฮีเลียม-4 (4He) เท่านั้นที่เสถียร ซึ่งในชั้นบรรยากาศของโลกมีอะตอม 3He สำหรับทุก ๆ อะตอม 4He นิวไคลด์กัมมันตรังสีทั้งหมดมีครึ่งชีวิตที่น้อย ที่มีครึ่งชีวิตมากที่สุดคือ 6He ที่มีครึ่งชีวิต 806.7 มิลลิวินาที และที่เสถียรน้อยที่สุดคือ 5He ซึ่งมีครึ่งชีวิต 7.6×10−22 วินาที และเป็นไปได้ที่ 2He จะมีครึ่งชีวิตน้อยกว่านั้น[4]
อ้างอิง
[แก้]- ↑ Kondev, F. G.; Wang, M.; Huang, W. J.; Naimi, S.; Audi, G. (2021). "The NUBASE2020 evaluation of nuclear properties" (PDF). Chinese Physics C. 45 (3): 030001. doi:10.1088/1674-1137/abddae.
- ↑ "Standard Atomic Weights: Helium". CIAAW. 1983.
- ↑ Prohaska, Thomas; Irrgeher, Johanna; Benefield, Jacqueline; และคณะ (2022-05-04). "Standard atomic weights of the elements 2021 (IUPAC Technical Report)". Pure and Applied Chemistry (ภาษาอังกฤษ). doi:10.1515/pac-2019-0603. ISSN 1365-3075.
- ↑ J. Emsley (2001). Nature's Building Blocks: An A–Z Guide to the Elements. Oxford University Press. p. 178. ISBN 0-19-850340-7.