ไฟฟ์ติคปลึส

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก ไฟฟ์ติกปลุส)
ไฟฟ์ติคปลึส
50PLUS
ชื่อย่อ50+
ประธานเคร์ต ดาเลิส
หัวหน้าเฮ็งก์ โกรล
ผู้นำในวุฒิสภามาร์ติน ฟัน โรยเยิน
ผู้นำในสภาผู้แทนราษฎรเฮ็งก์ โกรล
ผู้นำในรัฐสภายุโรปตวน มันเดิร์ส
ก่อตั้งค.ศ. 2009
ที่ทำการKneuterdijk 2
เดอะเฮก
จำนวนสมาชิก  (ปี 2019)ลดลง 5,701[1]
อุดมการณ์บำนาญ[2][3]
ลัทธิอิงสามัญชน[4]
ต่อต้านสหภาพยุโรปเล็กน้อย[5][6][7]
จุดยืนกลาง[8][9]
สีม่วง
วุฒิสภา
2 / 75
สภาผู้แทนราษฎร
4 / 150
ข้าหลวงในพระมหากษัตริย์
0 / 12
สภาจังหวัด
17 / 570
รัฐสภายุโรป
1 / 29
เว็บไซต์
www.50pluspartij.nl
การเมืองเนเธอร์แลนด์
รายชื่อพรรคการเมือง
การเลือกตั้ง

ไฟฟ์ติคปลึส (ดัตช์: 50PLUS หรือย่อเป็น 50+) เป็นพรรคการเมืองในประเทศเนเธอร์แลนด์ที่ตั้งขึ้นโดยมีจุดประสงค์หลักเพื่อผลักดันและรักษาผลประโยชน์ของผู้รับบำนาญ ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี ค.ศ. 2009 โดยโมริส โกปมัน, อเล็กซันเดอร์ มึนนิงโฮฟ และยัน นาเคิล อดีตพรรคการเมืองของพรรคแรงงานและพรรคเนเธอร์แลนด์น่าอยู่ มีเฮ็งก์ โกรล เป็นหัวหน้าพรรคตั้งแต่ ค.ศ. 2016

พรรคลงรับเลือกตั้งครั้งแรกในการเลือกตั้งสภาจังหวัดเมื่อ ค.ศ. 2011 โดยได้มา 9 ที่นั่ง จากนั้นลงรับเลือกตั้งวุฒิสภาในปีเดียวกันโดยเป็นระบบที่ให้สมาชิกสภาจังหวัดเลือกสมาชิกวุฒิสภา พรรคได้มาหนึ่งที่นั่งในวุฒิสภา และในการเลือกตั้งทั่วไปในปี ค.ศ. 2012 พรรคได้ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎร 2 ที่นั่ง

อ้างอิง[แก้]

  1. "Forum voor Democratie vierde ledenpartij, middenpartijen verliezen juist veel leden". NRC (ภาษาดัตช์). สืบค้นเมื่อ 12 February 2019.
  2. Andeweg, R. and G. Irwin Politics and Governance in the Netherlands, Basingstoke (Palgrave) p.49
  3. Nordsieck, Wolfram (2017). "Netherlands". Parties and Elections in Europe. สืบค้นเมื่อ 4 August 2018.
  4. "De opmars van 50Plus". AD. 16 November 2016. สืบค้นเมื่อ 4 February 2018.
  5. Benjamin LeRuth; Yordan Kutiyski; André Krouwel; Nicholas J Startin (2017). "Does the Information Source Matter? Newspaper Readership, Political Preferences and Attitudes Toward the EU in the UK, France and the Netherlands". ใน Manuela Caiani; Simona Guerra (บ.ก.). Euroscepticism, Democracy and the Media: Communicating Europe, Contesting Europe. Palgrave Macmillan UK. p. 105. ISBN 978-1-137-59643-7.
  6. Jort Statema; Paul Aarts. Timo Behr; Teija Tiilikainen (บ.ก.). The Netherlands: Follow Washington, Be a Good European. Northern Europe and the Making of the EU's Mediterranean and Middle East Policies. note on p. 237.
  7. Rudy B. Andeweg; Galen A. Irwin (2014). Governance and Politics of the Netherlands (4th ed.). Palgrave Macmillan. p. 74.
  8. Hans Keman (2008), "The Low Countries: Confrontation and Coalition in Segmented Societies", Comparative European Politics, Taylor & Francis, p. 221
  9. José Magone (3 July 2013). Contemporary European Politics: A Comparative Introduction. Routledge. p. 533. ISBN 978-1-136-93397-4.