ไทมอล์ฟทาลีน

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ไทมอล์ฟทาลีน
ชื่อ
Preferred IUPAC name
3,3-Bis[4-hydroxy-2-methyl-5-(propan-2-yl)phenyl]-2-benzofuran-1(3H)-one
เลขทะเบียน
3D model (JSmol)
ChEMBL
เคมสไปเดอร์
ECHA InfoCard 100.004.300 แก้ไขสิ่งนี้ที่วิกิสนเทศ
EC Number
  • 204-729-7
UNII
  • InChI=1S/C28H30O4/c1-15(2)20-13-23(17(5)11-25(20)29)28(22-10-8-7-9-19(22)27(31)32-28)24-14-21(16(3)4)26(30)12-18(24)6/h7-16,29-30H,1-6H3 checkY
    Key: LDKDGDIWEUUXSH-UHFFFAOYSA-N checkY
  • InChI=1/C28H30O4/c1-15(2)20-13-23(17(5)11-25(20)29)28(22-10-8-7-9-19(22)27(31)32-28)24-14-21(16(3)4)26(30)12-18(24)6/h7-16,29-30H,1-6H3
    Key: LDKDGDIWEUUXSH-UHFFFAOYAV
  • O=C1OC(c2ccccc12)(c3cc(c(O)cc3C)C(C)C)c4cc(c(O)cc4C)C(C)C
คุณสมบัติ
C28H30O4
มวลโมเลกุล 430.544 g·mol−1
ลักษณะทางกายภาพ White powder
จุดหลอมเหลว 248 ถึง 252 องศาเซลเซียส (478 ถึง 486 องศาฟาเรนไฮต์; 521 ถึง 525 เคลวิน) (decomposes)
ความอันตราย[1]
GHS labelling:
The health hazard pictogram in the Globally Harmonized System of Classification and Labelling of Chemicals (GHS)
เตือน
H341, H350, H361
P201, P202, P210, P233, P240, P241, P242, P243, P280, P281, P303+P361+P353, P308+P313, P370+P378, P403+P235, P405, P501
NFPA 704 (fire diamond)
NFPA 704 four-colored diamondHealth 1: Exposure would cause irritation but only minor residual injury. E.g. turpentineFlammability 0: Will not burn. E.g. waterInstability 0: Normally stable, even under fire exposure conditions, and is not reactive with water. E.g. liquid nitrogenSpecial hazards (white): no code
1
0
0
หากมิได้ระบุเป็นอื่น ข้อมูลข้างต้นนี้คือข้อมูลสาร ณ ภาวะมาตรฐานที่ 25 °C, 100 kPa

ไทมอล์ฟทาลีน (อังกฤษ: thymolphthalein) เป็นสารที่มีสูตรเคมีคือ C28H30O4[2] เป็นสารที่ใช้วัดความเป็นกรด-เบส ระหว่าง pH 9.3-10.5 โดยจะไม่มีสีเมื่อทดสอบด้วยสารละลายกรดและเป็นกลาง และมีสีน้ำเงินเมื่อทดสอบด้วยสารละลายเบส[3] ไทมอล์ฟทาลีนสามารถสังเคราะห์ได้จากปฏิกิริยาฟรีเดล-คราฟส์ (Friedel–Crafts reaction) ระหว่างไทมอลกับทาลิกแอนไฮไดรด์

ไทมอล์ฟทาลีน (ตัวบ่งชี้พีเอช)
ต่ำกว่า pH 9.3 สูงกว่า pH 10.5
ไม่มีสี น้ำเงิน


การสังเคราะห์ไทมอล์ฟทาลีน

อ้างอิง[แก้]

  1. "Thymolphthalein". pubchem.ncbi.nlm.nih.gov (ภาษาอังกฤษ).
  2. Thymolphthalein ACS reagent, indicator | Sigma-Aldrich
  3. "Disappearing ink of thymolphthalein - MEL Chemistry - Practicum". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-03-11. สืบค้นเมื่อ 2015-12-13.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]