รถไฟใต้ดินไทน์แอนด์เวียร์

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก ไทน์แอนด์แวร์เมโทร)
รถไฟใต้ดินไทน์แอนด์เวียร์
Metrocar ที่ Monument ใน ค.ศ. 2015 มีสีดำแลพเหลืองตามแบบปัจจุบัน
Metrocar ที่ Monument ใน ค.ศ. 2015 มีสีดำแลพเหลืองตามแบบปัจจุบัน
ระบบแผนที่เครือข่ายรางรถไฟใต้ดินไทน์แอนด์เวียร์
ระบบแผนที่เครือข่ายรางรถไฟใต้ดินไทน์แอนด์เวียร์
ข้อมูลทั่วไป
เจ้าของTyne and Wear Passenger Transport Executive (Nexus)
พื้นที่ให้บริการ
ที่ตั้งไทน์แอนด์เวียร์
ประเภท
จำนวนสาย2
จำนวนสถานี60
ผู้โดยสารต่อปี24.3 ล้านคน (2021/22)[2]
เพิ่มขึ้น 158.8%
สำนักงานใหญ่
เว็บไซต์www.nexus.org.uk/metro แก้ไขสิ่งนี้ที่วิกิสนเทศ
การให้บริการ
เริ่มดำเนินงาน11 สิงหาคม 1980; 43 ปีก่อน (1980-08-11)
ผู้ดำเนินงานTyne and Wear Passenger Transport Executive (Nexus)
จำนวนขบวน87 Metrocars
ความยาวขบวน27.81 m (91 ft 3 in)
ข้อมูลทางเทคนิค
ระยะทาง77.5 km (48.2 mi)[3]
รางกว้าง4 ft 8 12 in (1,435 mm) สแตนดาร์ดเกจ
การจ่ายไฟฟ้าระบบจ่ายไฟฟ้าเหนือหัว 1,500 V DC
ความเร็วสูงสุด80 km/h (50 mph)

รถไฟใต้ดินไทน์แอนด์เวียร์ (อังกฤษ: Tyne and Wear Metro) เป็นระบบขนส่งมวลชนเร็วของรถไฟรางเบาทั้งบนและใต้ดิน[4][5][6] ให้บริการนิวคาสเซิลอะพอนไทน์, เกตส์เฮด, นอร์ทไทน์ไซด์, เซาท์ไทน์ไซด์ และนครซันเดอร์ลันด์ (รวมกันอยู่ในไทน์แอนด์เวียร์) เครือข่ายนี้เปิดให้บริการในเดือนสิงหาคม ค.ศ. 1980 และปัจจุบันให้บริการ 60 สถานี บนรางสองรางที่มีระยะทาง 77.5 km (48.2 mi)[7][8][9][3] รถไฟใต้ดินนี้สามารถเข้าถึงได้ทั้งทางสถานีบนและใต้ดิน โดยมีการกล่าวถึงสถานีเป็ร the "ระบบรถไฟรางเบาสมัยใหม่อันแรกในสหราชอาณาจักร"[10]

ใน ค.ศ. 2018–19 มีผู้โดยสารใช้บริการประมาณ 36.4 ล้านคน มำให้เป็นเครือข่ายรถไฟรางเบาที่มีผู้ใช้งานมากเป็นอันดับ 3 ในสหราชอาณาจักร โดยเป็นรองเพียงรถไฟเบาสายดอคแลนดส์ของลอนดอน (121.8 ล้านคน) และแมนเชสเตอร์เมโทรลิงก์ (43.7 ล้านคน)[11]

เส้นทาง[แก้]

ปัจจุบันมี 2 เส้นทาง ได้แก่ สายสีเขียว วิ่งระหว่างท่าอากาศยานนิวคาสเซิล และ South Hylton กับสายสีเหลือง วิ่งระว่างสถานี St James และ South Shields[12]

แผนที่เส้นทางรถไฟฟ้าทางภูมิศาสตร์

ดูเพิ่ม[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. The Highway Engineer, Volume 23. Institution of Highway Engineers. 1976. p. 44. สืบค้นเมื่อ 21 March 2023.
  2. "Light rail and tram statistics, England: year ending March 2022". Department for Transport. 24 August 2022.
  3. 3.0 3.1 Schwandle, Robert (2015). Tram Atlas Britain & Ireland. Berlin, Germany: Robert Schwandl. pp. 132–137. ISBN 9783936573459.
  4. "Tyne and Wear Metro – UK Tram".
  5. "Light Rail and Tram Statistics, England: 2019/20" (PDF). Department for Transport.
  6. "The Tyne and Wear Passenger Transport (Sunderland) Order 1998". Legislation.gov.uk. สืบค้นเมื่อ 21 May 2021.
  7. Davoudi, S.; Gillard, A.; Healey, P.; Pullen, B.; Raybould, S.; Robinson, F.; Silcock, D.; Usher, D.; Wymer, C. (1 January 1993). "The longer term effects of the Tyne and Wear Metro". TRL. สืบค้นเมื่อ 30 June 2018.
  8. "Tyne & Wear Metro Rapid Transit System, United Kingdom". Railway Technology. สืบค้นเมื่อ 14 March 2013.
  9. "Tyne and Wear Metro: Stations". TheTrams. สืบค้นเมื่อ 1 March 2017.
  10. "How Metro was built". Nexus. สืบค้นเมื่อ 4 April 2015.
  11. "Light rail and tram statistics, England: 2018/19" (PDF). Department for Transport. 19 June 2019. สืบค้นเมื่อ 27 February 2020.
  12. "UrbanRail.Net - Europe - U.K. - NEWCASTLE Metro". UrbanRail.net. สืบค้นเมื่อ 2013-07-24.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]

แผนที่เส้นทาง:

KML is from Wikidata