โมแยง
ไปยังการนำทาง
ไปยังการค้นหา
![]() โลโก้ที่ใช้ตั้งแต่เดือนสิงหาคม พ.ศ. 2555 | |
ประเภท | บริษัทในเครือ |
---|---|
ชื่อเดิม | โมแยงสเปซิฟิเคชันส์ (2552–2553) |
ก่อตั้ง | พ.ศ. 2552 (อายุ 10 ปี) |
ผู้ก่อตั้ง | มาร์คุส แพร์สชอน |
ที่อยู่ | สต็อกโฮล์ม, ประเทศสวีเดน; |
บุคลากรหลัก |
|
อุตสาหกรรม | วิดีโอเกม |
ผลิตภัณฑ์ | |
พนักงาน | 70[1] (2559) |
บริษัทแม่ | เอกซ์บอกซ์เกมสตูดิโอส์ (2557–ปัจจุบัน) |
เว็บไซต์ | mojang.com |
โมแยงเอบี (อังกฤษ: Mojang AB)[2][3] เป็นบริษัทพัฒนาเกมสัญชาติสวีเดนที่ตั้งอยู่ที่เมืองสต็อกโฮล์ม ในตอนแรกบริษัทตั้งขึ้นภายใต้ชื่อ โมแยงสเปซิฟิเคชันส์ (Mojang Specifications) ในปี พ.ศ. 2552 โดยมาร์คุส แพร์สชอน และถูกเปลี่ยนชื่อเป็นโมแยงเอบีในปี พ.ศ. 2553 โดยยาคอบ พอร์เซียร์ (Jakob Porsér) ซึ่งบริษัทนี้เป็นที่รู้กันในนามของผู้สร้างเกมไมน์คราฟต์ (เกมปล่อยออกมาในปี พ.ศ. 2554) ซึ่งเป็นเกมที่มียอดขายสูงที่สุดตลอดกาล และในเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2557 บริษัทโมแยงถูกรวมเข้ากับบริษัทไมโครซอฟท์สตูดิโอส์ (ตอนนี้เป็นที่รู้จักกันในชื่อ เอกซ์บอกซ์เกมสตูดิโอส์)
ประวัติ[แก้]
เกมที่พัฒนา[แก้]
ปี (พ.ศ.) | ชื่อเกม | ประเภทเกม | แพลตฟอร์ม | อ้างอิง |
---|---|---|---|---|
2554 | ไมน์คราฟต์ | แซนด์บอกซ์ | แอนดรอยด์ ไฟร์โอเอส, ไอโอเอส, ลินุกซ์, แมคโอเอส, ไมโครซอฟท์ วินโดวส์, นิวนินเท็นโด 3ดีเอส, นินเท็นโด สวิตช์, เพลย์สเตชัน 3, เพลย์สเตชัน 4, เพลย์สเตชันวิต้า, ราสป์เบอร์รีพาย, ทีวีโอเอส, วียู, วินโดวส์โฟน, เอกซ์บอกซ์ 360, เอกซ์บอกซ์วัน | [4] |
2557 | คอลเลอรส์เบน (ก่อนหน้านี้ชื่อ สกรอลส์) | Digital collectible card game | แอนดรอยด์, แมคโอเอส, ไมโครซอฟท์ วินโดวส์ | [5][6] |
2559 | คราวน์แอนด์เคาน์ซิล | Strategy | ลินุกซ์, แมคโอเอส, ไมโครซอฟท์ วินโดวส์ | [7][8] |
2562 | ไมน์คราฟต์คลาสสิก | แซนด์บอกซ์ | เบราว์เซอร์ | [9] |
ไมน์คราฟต์เอิร์ท | Augmented reality | แอนดรอยด์, ไอโอเอส | [10] | |
2563 | ไมน์คราฟต์ดันเจียนส์ | Dungeon crawl | ไมโครซอฟท์ วินโดวส์, นินเท็นโด สวิตช์, เพลย์สเตชัน 4, เอกซ์บอกซ์วัน | [11] |
เกมที่จัดจำหน่าย[แก้]
ปี (พ.ศ.) | ชื่อเกม | แพลตฟอร์ม | ผู้พัฒนา | อ้างอิง |
---|---|---|---|---|
2559 | โคบอลต์ | ไมโครซอฟท์ วินโดวส์, เอกซ์บอกซ์ 360, เอกซ์บอกซ์วัน | อ๊อกซายเกมสตูดิโอ | [12] |
2560 | โคบอลต์ดับเบิลยูเอเอสดี | ไมโครซอฟท์ วินโดวส์ | [13] |
อ้างอิง[แก้]
- ↑ "About". Mojang. Archived from the original on 16 January 2019. สืบค้นเมื่อ 16 January 2019. Unknown parameter
|url-status=
ignored (help) - ↑ Mojang อ่านว่า "โมแยง" (ภาษาสวีเดน)
- ↑ Mojang อ่านว่า "โมแยง"
- ↑ Fulton, Michael (21 March 2019). "Overview of Platforms Minecraft Is Available On". Lifewire. Archived from the original on 19 January 2019. สืบค้นเมื่อ 17 January 2019. Unknown parameter
|url-status=
ignored (help) - ↑ อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อPolygon: Scrolls
- ↑ อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อPCGamesN: Caller's Bane
- ↑ อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อRPS: Crown and Council Release
- ↑ อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อRPS: Crown and Council Update
- ↑ อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อPCGamesN: Classic
- ↑ อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อPCGamesN: Earth
- ↑ อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อPolygon: Dungeons
- ↑ Good, Owen S. (17 January 2016). "Mojang-published Cobalt set to launch Feb. 2". Polygon. Archived from the original on 19 January 2019. สืบค้นเมื่อ 17 January 2019. Unknown parameter
|url-status=
ignored (help) - ↑ Alexandra, Heather (30 November 2017). "Cobalt WASD Is 2-D Counter-Strike With Time Grenades And Super Suits". Kotaku. Archived from the original on 19 January 2019. สืบค้นเมื่อ 17 January 2019. Unknown parameter
|url-status=
ignored (help)
แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]
![]() |
คอมมอนส์ มีภาพและสื่อเกี่ยวกับ: โมแยงเอบี |