โฟลเคอ เบอร์นาดอตต์
โฟลเคอ เบอร์นาดอตต์ | |
---|---|
เคานต์แห่งวิสบอร์ก | |
![]() เบอร์นาดอตต์ในช่วงกลางคริสต์ทศวรรษที่ 1940 | |
ประสูติ | 2 มกราคม ค.ศ. 1895 สต็อกโฮล์ม สวีเดน |
สวรรคต | 17 กันยายน ค.ศ. 1948 เยรูซาเลม | (53 ปี)
คู่อภิเษก | Estelle Romaine Manville (สมรส 1928) |
พระราชบุตร |
|
ราชวงศ์ | เบอร์นาดอตต์ |
พระราชบิดา | เจ้าชายออสการ์ เบอร์นาดอตต์ |
พระราชมารดา | เอ็มบา มอกุส อัล ฟุสเก |
โฟลเคอ เบอร์นาดอตต์ เคานต์แห่งวิสบอร์ก (สวีเดน: Folke Bernadotte af Wisborg, 2 มกราคม 1895 – 17 กันยายน 1948) เป็นขุนนางและนักการทูตชาวสวีเดนที่ซึ่งในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง พระองค์ได้ทรงเจรจาปล่อยตัวชาวยิวเชื้อสายเดนมาร์กกว่า 450 คนและนักโทษที่ไม่ใช่ชาวยิวกว่า 30,550 คนออกจากค่ายกักกันเทเรซีนชตัดท์ (Theresienstadt concentration camp) ของนาซีเยอรมนี[a] โดยนักโทษเหล่านั้นได้รับการปล่อยตัวเมื่อวันที่ 14 เมษายน ค.ศ. 1945[4][5] ในปี ค.ศ. 1945 พระองค์ได้รับข้อเสนอการยอมแพ้ของเยอรมนีจากไฮน์ริช ฮิมเลอร์ แต่ข้อเสนอนี้ถูกปฏิเสธจากฝ่ายพันธมิตรในที่สุด
หลังสงครามโลกครั้งที่สอง พระองค์ได้รับเลือกอย่างเป็นเอกฉันท์ให้เป็นผู้ไกล่เกลี่ยในคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติในความขัดแย้งระหว่างอาหรับกับอิสราเอลในปี ค.ศ. 1947–1948 แต่สุดท้ายพระองค์ถูกลอบปลงพระชนม์ที่กรุงเยรูซาเล็มในปี ค.ศ. 1948 โดยกลุ่มกองกำลังกึ่งทหารไซออนิสต์เลไฮ (Lehi) ขณะที่พระองค์กำลังทรงงานอยู่ หลังจากที่พระองค์สิ้นชีพิตักษัย ราล์ฟ บันช์ (Ralph Bunche) ได้เข้ารับงานที่พระองค์ได้ทรงงานไว้และประสบความสำเร็จในการไกล่เกลี่ยข้อตกลงสงบศึกระหว่างอิสราเอลและอียิปต์ในปี ค.ศ. 1949
ดูเพิ่มเติม
[แก้]อ้างอิง
[แก้]- ↑ Persson, Sune (2000). "Folke Bernadotte and the White Buses". Journal of Holocaust Education. 9 (2): 237–268. doi:10.1080/17504902.2000.11087111. ISSN 1359-1371.
- ↑ David Cesarani; Paul A. Levine, บ.ก. (2002). Bystanders to the Holocaust: A Re-evaluation. Routledge. ISBN 9780714682433.
- ↑ Ilan, Amitzur (1989). Bernadotte in Palestine, 1948. New York, New York: St. Martin's Press, Inc. ISBN 0-312-03259-5.
- ↑ Fox, Frank. "A Jew talks to Himmler". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-03-21.
- ↑ Macintyre, Donald (2008-09-18). "Israel's forgotten hero: The assassination of Count Bernadotte–and the death of peace". The Independent. London. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-09-25. สืบค้นเมื่อ 2008-12-11.
แหล่งข้อมูลทั่วไป
[แก้]- Kushner, Harvey W. (2002). Encyclopedia of Terrorism. Sage Publications. ISBN 978-0-7619-2408-1.
- Marton, Kati (1994). A Death in Jerusalem. Pantheon Books. ISBN 978-0-679-42083-5.
- Schwarz, Ted (1992). Walking with the Damned: The Shocking Murder of the Man Who Freed 30,000 Prisoners from the Nazis. New York: Paragon House. ISBN 978-1-55778-315-8.
อ่านเพิ่มเติม
[แก้]- เบน-ดรอร์, เอลาด (2015). Ralph Bunche และความขัดแย้งระหว่างอาหรับ-อิสราเอล: การไกล่เกลี่ยและสหประชาชาติ 1947–1949, RoutledgeISBN 978-1-138-78988-3หมายเลข ISBN 978-1-138-78988-3 .
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]- “M. Friedman: เส้นทางสู่เสรีภาพ เรียงความโดยผู้รอดชีวิตจากเหตุการณ์ฆ่าล้างเผ่าพันธุ์” จากโครงการความทรงจำ พิพิธภัณฑ์อนุสรณ์สถานฮอโลคอสต์แห่งสหรัฐอเมริกา
- เยโฮชัว เซตต์เลอร์ – ข่าวการเสียชีวิตของหนังสือพิมพ์เดลี่เทเลกราฟ
- คลังภาพชีวิตของเบอร์นาดอตต์ในปาเลสไตน์ สิงหาคม 1948
- กฤตภาคจากหนังสือพิมพ์เกี่ยวกับ โฟลเคอ เบอร์นาดอตต์ ในหอจดหมายเหตุข่าวสารคริสต์ศตวรรษที่ 20 ของ ZBW
- หลุมศพของโฟล์ค เบอร์นาด็อตต์