โบสถ์นักบุญฮริพซีแม

พิกัด: 40°10′01″N 44°18′35″E / 40.166992°N 44.309675°E / 40.166992; 44.309675
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
โบสถ์นักบุญฮริพซีแม
ด้านนอกโบสถ์เมื่อปี ค.ศ. 2018
ศาสนา
ศาสนาคริสตจักรอัครทูตอาร์มีเนีย
จารีตจารีตอาร์มีเนีย
สถานะเปิดให้บริการ
ที่ตั้ง
ที่ตั้งวาการ์สชาพัต จังหวัดอาร์มาวีร์ ประเทศอาร์มีเนีย
พิกัดภูมิศาสตร์40°10′01″N 44°18′35″E / 40.166992°N 44.309675°E / 40.166992; 44.309675
สถาปัตยกรรม
ประเภทเตตราคอนช์[1]
รูปแบบสถาปัตยกรรมอาร์มีเนีย
ผู้ก่อตั้งกอมีตัส อัคท์แซทซี
เสร็จสมบูรณ์ค.ศ. 618 (โบสถ์หลังปัจจุบัน)[1][2][3]
ลักษณะจำเพาะ
ความยาว22.8 เมตร (75 ฟุต)[4][5]
ความกว้าง17.7 เมตร (58 ฟุต)[4][5]
ชื่อทางการ: อาสนวิหารและหมู่โบสถ์แห่งแอจมียัตซิน และแหล่งโบราณคดีแห่งซวาร์ทนอทส์
ประเภทวัฒนธรรม
เกณฑ์พิจารณา(ii) (iii)
แต่งตั้ง2000 (ชุดที่ 24)
หมายเลขอ้างอิง1011-004
ภูมิภาคเอเชียตะวันตก

โบสถ์นักบุญฮริพซีแม (อาร์มีเนีย: Սուրբ Հռիփսիմե եկեղեցի, Surb Hřip’simē yekeghetsi; อังกฤษ: Saint Hripsime Church หรือบางครั้งสะกดว่า Hripsimeh)[6][7] เป็นโบสถ์ในคริสตจักรอัครสาวกอาร์มีเนีย ตั้งอยู่ในเมืองวาการ์สชาพัต ประเทศอาร์มีเนีย สร้างขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 7 และเป็นหนึ่งในโบสถ์ที่เก่าแก่ที่สุดที่ยังคงหลงเหลือถึงปัจจุบันของอาร์มีเนีย โบสถ์นี้สร้างขึ้นโดยคาธอลิโกสกอมีตัสเพื่อแทนที่สุสานเดิมซึ่งสร้างขึ้นโดยคาธอลิโกสซาฮักมหาสมณะในปี ค.ศ. 395 และเป็นที่เก็บรักษาเรลิกของนักบุญฮริพซีแมที่ซึ่งโบสถ์แห่งนี้สร้างขึ้นอุทิศให้ โบสถ์หลังปัจจุบันสร้างเสร็จในปี ค.ศ. 618 และเป็นที่รู้จักดีในฐานะตัวอย่างชิ้นเอกของสถาปัตยกรรมอาร์มีเนียในยุคคลาสสิกและเป็นแบบอย่างในการสร้างโบสถ์หลังอื่น ๆ ในอาร์มีเนียนับแต่นั้น ตั้งแต่ปี ค.ศ. 2000 โบสถ์นี้เป็นหนึ่งในแหล่งมรดกโลกของยูเนสโก ควบคู่ไปกับโบสถ์หลังอื่น ๆ โดยรอบ เช่น อาสนวิหารแอจมียัตซิน

ดูเพิ่ม[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. 1.0 1.1 Kouymjian, Dickran. "Saint Hrp'sime". armenianstudies.csufresno.edu. California State University, Fresno. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 10 September 2012.
  2. Eremian, A. (1980). "Հռիփսիմեի տաճար [Hripsime temple]". Soviet Armenian Encyclopedia Volume 6 (ภาษาอาร์เมเนีย). Yerevan: Armenian Encyclopedia Publishing. pp. 596–597.
  3. Hunt, Lucy-Anne (2008). "Eastern Christian Iconographic and Architectural Traditions: Oriental Orthodox". ใน Parry, Ken (บ.ก.). The Blackwell Companion to Eastern Christianity. John Wiley & Sons. p. 394. ...was influential in Armenia and early imitations of it are found in Georgia...
  4. 4.0 4.1 Eremian 1974, p. 59.
  5. 5.0 5.1 Strzygowski 1918, p. 92.
  6. Dalton, Ormonde Maddock (1925). East Christian art: a survey of the monuments. Hacker Art Books. p. 33. ...in Armenia, such as the cathedral of Edgmiatsin, the church at Bagaran, and the Hripsimeh church at Vagharshapat...
  7. Svajian, Stephen G. (1977). A Trip Through Historic Armenia. GreenHill Pub. p. 85. According to Lynch, the interior of the chapel has the features of St. Hripsimeh Church in Etchmiadzin.

อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "hushardzan" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "encyclopedia.am" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "ejmiatsin.am" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "Adalian" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า

อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "Kiesling" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า

บรรณานุกรม[แก้]

บทความวิชาการ
หนังสือตีพิมพ์

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]