โซเดียมออกซาเลต

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
โซเดียมออกซาเลต
Disodium oxalate
ชื่อ
Preferred IUPAC name
Disodium oxalate
ชื่ออื่น
กรดออกซาลิก, เกลือไดโซเดียม,
Sodium ethanedioate
เลขทะเบียน
3D model (JSmol)
ChEBI
ChEMBL
เคมสไปเดอร์
ECHA InfoCard 100.000.501 แก้ไขสิ่งนี้ที่วิกิสนเทศ
EC Number
  • 200-550-3
RTECS number
  • K11750000
UNII
  • InChI=1S/C2H2O4.2Na/c3-1(4)2(5)6;;/h(H,3,4)(H,5,6);;/q;2*+1/p-2 ☒N
    Key: ZNCPFRVNHGOPAG-UHFFFAOYSA-L ☒N
  • C(=O)(C(=O)[O-])[O-].[Na+].[Na+]
คุณสมบัติ
Na2C2O4
มวลโมเลกุล 133.999 g mol−1
ความหนาแน่น 2.34 g cm−3
จุดหลอมเหลว 260 องศาเซลเซียส (500 องศาฟาเรนไฮต์; 533 เคลวิน) สลายตัวในอุณหภูมิมากกว่า 290 °C[2]
2.69 g/100 mL (0 °C)
3.7 g/100 mL (20 °C)
6.25 g/100 mL (100 °C)
ความสามารถละลายได้ ละลายในกรดฟอร์มิก
ไม่ละลายในแอลกอฮอล์, อีเทอร์
โครงสร้าง
มอนอคลินิก
อุณหเคมี
-1318 kJ/mol
ความอันตราย
GHS labelling:[3]
The exclamation-mark pictogram in the Globally Harmonized System of Classification and Labelling of Chemicals (GHS)
เตือน
H302, H312
P280, P301+P312, P302+P352
NFPA 704 (fire diamond)
NFPA 704 four-colored diamondHealth 1: Exposure would cause irritation but only minor residual injury. E.g. turpentineFlammability 0: Will not burn. E.g. waterInstability 0: Normally stable, even under fire exposure conditions, and is not reactive with water. E.g. liquid nitrogenSpecial hazards (white): no code
1
0
0
ปริมาณหรือความเข้มข้น (LD, LC):
11160 mg/kg (ปาก, หนู)[1]
เอกสารข้อมูลความปลอดภัย (SDS) Oxford MSDS แม่แบบ:Unreliable source
หากมิได้ระบุเป็นอื่น ข้อมูลข้างต้นนี้คือข้อมูลสาร ณ ภาวะมาตรฐานที่ 25 °C, 100 kPa

โซเดียมออกซาเลต (อังกฤษ: sodium oxalate) หรือ ไดโซเดียมออกซาเลต (disodium oxalate) เป็นเกลือโซเดียมของกรดออกซาลิก มีสูตรเคมีคือ Na2C2O4 มีลักษณะเป็นผงผลึกสีขาว ไม่มีกลิ่น สลายตัวที่อุณหภูมิระหว่าง 250–270°C เตรียมได้จากปฏิกิริยาระหว่างกรดออกซาลิกกับโซเดียมไฮดรอกไซด์ที่อัตราส่วน 1:2 หรือสลายโซเดียมฟอร์เมตที่ความร้อนสูงกว่า 360°C

โซเดียมออกซาเลตใช้ในงานด้านไพโรเทคนิก โดยจะให้สีของไฟเป็นสีเหลือง[4] และใช้ในการไตเตรตสารละลายโพแทสเซียมเปอร์แมงกาเนต[5][6] ตามสมการ:[7]

5Na2C2O4 + 2KMnO4 + 8H2SO4 → K2SO4 + 5Na2SO4 + 2MnSO4 + 10CO2 + 8H2O

โซเดียมออกซาเลตมีความเป็นพิษเช่นเดียวกับสารกลุ่มออกซาเลตอื่น ๆ มีค่า LD50 ในผู้ใหญ่ประมาณ 10-30 กรัม (143-428 มิลลิกรัม/กิโลกรัม)[8] หากรับประทานเข้าไปจะทำให้เกิดอาการแสบร้อน อาเจียนเป็นเลือด ชัก ระบบหมุนเวียนโลหิตล้มเหลว[9] นอกจากนี้โซเดียมออกซาเลตยังมีคุณสมบัติในการดึงไอออนของแคลเซียมออกจากพลาสมาของเลือดและทำให้เลือดไม่จับตัวเป็นก้อน

อ้างอิง[แก้]

  1. 1.0 1.1 "ChemIDplus - 62-76-0 - ZNCPFRVNHGOPAG-UHFFFAOYSA-L - Disodium oxalate - Similar structures search, synonyms, formulas, resource links, and other chemical information". chem.nlm.nih.gov (ภาษาอังกฤษ). NIH. สืบค้นเมื่อ 7 January 2019.
  2. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ yoshi
  3. GHS: GESTIS 570199
  4. Jared Ledgard (1 พฤศจิกายน 2007). The Preparatory Manual of Black Powder and Pyrotechnics, Version 1.4. ISBN 978-0-615-17427-3.
  5. "Sodium oxalate (CAS 62-76-0)". Santa Cruz Biotechnology.
  6. Robert M. Fowler; Harry A. Bright (20 กันยายน 1935). "Standardization of permanganate solutions with sodium oxalate" (PDF). NIST (RP843).
  7. Mcbride, R. S. (1912). "The standardization of potassium permanganate solution by sodium oxalate". Journal of the American Chemical Society. 34: 393. doi:10.1021/ja02205a009.
  8. "Material Safety Data Sheet - Sodium oxalate" (PDF). Southwest Tennessee Community College. 15 กุมภาพันธ์ 2008.
  9. "Material Safety Data Sheet - Sodium Oxalate" (PDF). LabChem. 2 พฤศจิกายน 2009.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]