ข้ามไปเนื้อหา

แอสตันมาร์ตินในฟอร์มูลาวัน

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
สหราชอาณาจักร แอสตันมาร์ตินอะแรมโค-เมอร์เซเดส
ชื่อเต็มแอสตันมาร์ตินอะแรมโคเอฟวันทีม[1]
ที่ตั้ง
หัวหน้าทีมแอนดี เคาว์เวลล์ (หัวหน้าทีมและประธานเจ้าหน้าที่บริหาร)[2][3]
ประธานเจ้าหน้าที่ฝ่ายเทคนิคเอนรีโก การ์ดีเล[4][5]
ผู้อำนวยการฝ่ายเทคนิค
เว็บไซต์www.astonmartinf1.com
ชื่อก่อนหน้าเรซซิงพอยต์เอฟวันทีม
ฟอร์มูลาวันชิงแชมป์โลก 2025
นักขับ
นักขับทดสอบ
แชสซีเอเอ็มอาร์25
เครื่องยนต์เมอร์เซเดส
ยางรถพีเรลลี่
สถิติการแข่งขันฟอร์มูลาวันชิงแชมป์โลก
แข่งครั้งแรกดัตช์กรังด์ปรีซ์ 1959
แข่งครั้งล่าสุดแคนาเดียนกรังด์ปรีซ์ 2025
เข้าร่วมการแข่งขัน106 (ออกตัว 105)
เครื่องยนต์
แชมป์ผู้ผลิต0
แชมป์นักขับ0
ชนะ0
โพเดียม9
คะแนน528
ตำแหน่งโพล0
รอบที่เร็วที่สุด3
อันดับในปี 20245 (94 คะแนน)

แอสตันมาร์ตินเป็นบริษัทผลิตรถยนต์สัญชาติบริติชที่เข้าร่วมการแข่งขันฟอร์มูลาวันในฐานะที่แตกต่างกัน ปัจจุบันมีทีมที่เป็นตัวแทนเข้าร่วมการแข่งขันภายใต้ชื่อ แอสตันมาร์ตินอะแรมโคเอฟวันทีม (อังกฤษ: Aston Martin Aramco F1 Team) บริษัทเข้าร่วมการแข่งขันฟอร์มูลาวันครั้งแรกระหว่างฤดูกาล 1959 ในฐานะผู้ผลิตแชสซีของรถรุ่นดีบีอาร์4 และเครื่องยนต์ที่ใช้ขับเคลื่อนให้แก่ทีมของเจ้าของบริษัทในขณะนั้นคือเดวิด บราวน์คอร์ปอเรชัน แต่ทีมไม่สามารถสะสมคะแนนในการแข่งขัน ทีมยังคงทำผลงานได้ไม่ดีตลอดฤดูกาลถัดมา และไม่มีคะแนนสะสมเหมือนเดิม ส่งผลให้แอสตันมาร์ตินตัดสินใจออกจากการแข่งขันฟอร์มูลาวันหลังสิ้นสุดฤดูกาล[20][21]

แอสตันมาร์ตินกลับมาเข้าร่วมการแข่งขันฟอร์มูลาวันหลังจากการปรับภาพลักษณ์ใหม่ของเรซซิงพอยต์เอฟวันทีมในฤดูกาล 2021 และใช้เครื่องยนต์ที่ผลิตโดยเมอร์เซเดสต่อจากทีมเดิม[22][23] ทีมได้ร่วมมือกับฮอนด้าเรซซิงคอร์ปอเรชันเพื่อผลิตและใช้เครื่องยนต์ของฮอนด้าในฤดูกาล 2026[24][25] ทีมถือครองโดย ลอว์เรนซ์ สโตรลล์ และมี เฟร์นันโด อาลอนโซ แชมป์โลกสองสมัยจากสเปน และ แลนซ์ สโตรลล์ จากแคนาดา เป็นนักขับประจำทีมมาตั้งแต่ฤดูกาล 2023[14][15][22] ฐานการผลิตหลักของทีมตั้งอยู่ที่เมืองซิลเวอร์สโตน ประเทศอังกฤษ[26] ทีมเคยเข้าร่วมการแข่งขันฟอร์มูลาวันรายการก่อนหน้าภายใต้ชื่อที่แตกต่างกัน เริ่มตั้งแต่จอร์แดนกรังด์ปรีซ์ในฤดูกาล 1991

ผลการแข่งขันฟอร์มูลาวัน

[แก้]
(คำสำคัญ)
ฤดูกาล แชสซี เครื่องยนต์ ยางรถยนต์ นักขับ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 คะแนน อันดับ
1959 ดีบีอาร์4 แอสตันมาร์ติน อาร์บี6 2.5 6 สูบเรียง A MON 500 NED FRA GBR GER POR ITA USA 0 NC
สหราชอาณาจักร รอย ซัลวาโดรี Ret 6 6 Ret
สหรัฐอเมริกา แคร์โรลล์ เชลบี Ret Ret 8 10
1960 ดีบีอาร์4 แอสตันมาร์ติน อาร์บี6 2.5 6 สูบเรียง D ARG MON 500 NED BEL FRA GBR POR ITA USA 0 NC
สหราชอาณาจักร รอย ซัลวาโดรี DNS
ดีบีอาร์5 Ret
ประเทศฝรั่งเศส มอริส แทร็งตีญง 11
1961 – 2020: แอสตันมาร์ตินไม่ได้เข้าแข่งขันในฐานะทีมผู้ผลิต
2021 เอเอ็มอาร์21 เมอร์เซเดส เอฟ1 เอ็ม12 อี เพอร์ฟอร์แมนซ์ 1.6 วี6 เทอร์โบ P BHR EMI POR ESP MON AZE FRA STY AUT GBR HUN BEL NED ITA RUS TUR USA MXC SAP QAT SAU ABU 77 7
ประเทศแคนาดา แลนซ์ สโตรลล์ 10 8 14 11 8 Ret 10 8 13 8 Ret 20 12 7 11 9 12 14 Ret 6 11 13
ประเทศเยอรมนี เซบัสทีอัน เฟ็ทเทิล 15 15† 13 13 5 2 9 12 17† Ret DSQ 5‡ 13 12 12 18 10 7 11 10 Ret 11
2022 เอเอ็มอาร์22 เมอร์เซเดส เอฟ1 เอ็ม13 อี เพอร์ฟอร์แมนซ์ 1.6 วี6 เทอร์โบ P BHR SAU AUS EMI MIA ESP MON AZE CAN GBR AUT FRA HUN BEL NED ITA SIN JPN USA MXC SAP ABU 55 7
ประเทศแคนาดา แลนซ์ สโตรลล์ 12 13 12 10 10 15 14 16† 10 11 13 10 11 11 10 Ret 6 12 Ret 15 10 8
ประเทศเยอรมนี เซบัสทีอัน เฟ็ทเทิล Ret 8 17† 11 10 6 12 9 17 11 10 8 14 Ret 8 6 8 14 11 10
ประเทศเยอรมนี นีโค ฮึลเคินแบร์ค 17 12
2023 เอเอ็มอาร์23 เมอร์เซเดส เอฟ1 เอ็ม14 อี เพอร์ฟอร์แมนซ์ 1.6 วี6 เทอร์โบ P BHR SAU AUS AZE MIA MON ESP CAN AUT GBR HUN BEL NED ITA SIN JPN QAT USA MXC SAP LVG ABU 280 5
ประเทศสเปน เฟร์นันโด อาลอนโซ 3 3 3 46 3 2 7 2 55 7 9 5 2F 9 15 8 68 Ret Ret 3 9 7
ประเทศแคนาดา แลนซ์ สโตรลล์ 6 Ret 4 78 12 Ret 6 9 94 14 10 9 11 16 WD Ret 11 7 17† 5 5 10
2024 เอเอ็มอาร์24 เมอร์เซเดส เอฟ1 เอ็ม15 อี เพอร์ฟอร์แมนซ์ 1.6 วี6 เทอร์โบ P BHR SAU AUS JPN CHN MIA EMI MON CAN ESP AUT GBR HUN BEL NED ITA AZE SIN USA MXC SAP LVG QAT ABU 94 5
ประเทศสเปน เฟร์นันโด อาลอนโซ 9 5 8 6 7F 9 19 11 6 12 18F 8 11 8 10 11 6 8 13 Ret 14 11 7 9
ประเทศแคนาดา แลนซ์ สโตรลล์ 10 Ret 6 12 15 17 9 14 7 14 13 7 10 11 13 19 19† 14 15 11 DNS 15 Ret 14
2025 เอเอ็มอาร์25 เมอร์เซเดส เอฟ1 เอ็ม16 อี เพอร์ฟอร์แมนซ์ 1.6 วี6 เทอร์โบ P AUS CHN JPN BHR SAU MIA EMI MON ESP CAN AUT GBR BEL HUN NED ITA AZE SIN USA MXC SAP LVG QAT ABU 22* 8*
ประเทศสเปน เฟร์นันโด อาลอนโซ Ret Ret 11 15 11 15 11 Ret 9 7
ประเทศแคนาดา แลนซ์ สโตรลล์ 6 9 20 17 16 165 15 15 WD 17
แหล่งที่มา:[27][28][29]
หมายเหตุ
  • † ไม่จบการแข่งขันแต่ถูกจัดอันดับ เนื่องจากแข่งขันมากกว่าร้อยละ 90 ของระยะทางการแข่งขัน
  • ‡ คะแนนเพียงครึ่งหนึ่งถูกมอบให้ เนื่องจากการแข่งขันเสร็จสิ้นน้อยกว่าร้อยละ 75 ของระยะทางการแข่งขัน
  • * ฤดูกาลกำลังดำเนินอยู่

อ้างอิง

[แก้]
  1. Nichol, Jake (14 December 2023). "Aston Martin announces name change for 2024 F1 season". RacingNews365. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 14 December 2023. สืบค้นเมื่อ 17 December 2023.
  2. Benson, Andrew (10 January 2025). "Cowell named Aston Martin team principal". BBC Sport. สืบค้นเมื่อ 10 January 2025.
  3. Duncan, Philip (10 January 2025). "Andy Cowell assuming team principal position at Aston Martin". The Independent. สืบค้นเมื่อ 10 January 2025.
  4. "Enrico Cardile to join Aston Martin as F1 Chief Technical Officer following Ferrari departure". Formula One. 9 July 2024. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 9 July 2024. สืบค้นเมื่อ 24 July 2024.
  5. Baldwin, Alan (9 July 2024). "Cardile joins Aston Martin F1 team from Ferrari". Reuters. สืบค้นเมื่อ 24 July 2024.
  6. "Aston Martin announce second technical hire from Red Bull within a week, as restructure continues". Formula One. 1 July 2021. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 28 December 2022. สืบค้นเมื่อ 10 March 2023.
  7. Baldwin, Alan (2 July 2021). "Motor racing-Aston Martin sign another aero expert from Red Bull". Reuters. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 10 March 2023. สืบค้นเมื่อ 10 March 2023.
  8. "Engineer Bob Bell departs Alpine to join Aston Martin as Executive Director". Formula One. 6 March 2024. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 26 April 2024. สืบค้นเมื่อ 26 April 2024.
  9. Benson, Andrew (6 March 2024). "Alpine: Engineer Bob Bell leaves and joins Aston Martin". BBC Sport. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 31 March 2024. สืบค้นเมื่อ 26 April 2024.
  10. Benson, Andrew (17 June 2021). "Aston Martin sign Alfa Romeo's Luca Furbatto as engineering director". BBC Sport. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 10 March 2023. สืบค้นเมื่อ 10 March 2023.
  11. Cooper, Adam (17 June 2021). "Aston Martin headhunts Alfa F1 designer for engineering role". Motorsport.com. Motorsport Network. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 10 March 2023. สืบค้นเมื่อ 10 March 2023.
  12. "'It's a really exciting time' – Aston Martin share update on new wind tunnel and preparations for Honda's arrival". Formula One. 16 July 2024. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 16 July 2024. สืบค้นเมื่อ 23 November 2024.
  13. Coop, Samuel; Parkes, Ian (13 October 2024). "Aston Martin detail priority change as F1 break prompts new focus". RacingNews365. สืบค้นเมื่อ 23 November 2024.
  14. 14.0 14.1 "Alonso signs new F1 deal with Aston Martin". Formula One. 11 April 2024. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 11 April 2024. สืบค้นเมื่อ 11 April 2024.
  15. 15.0 15.1 "Aston Martin confirm Stroll to remain at team". Formula One. 27 June 2024. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 27 June 2024. สืบค้นเมื่อ 27 June 2024.
  16. "Felipe Drugovich to continue as Aston Martin Aramco Test and Reserve Driver for 2025". Aston Martin Aramco F1 Teamr. 13 January 2025. สืบค้นเมื่อ 13 January 2025.
  17. "Jak Crawford to test F1 car for the first time with Aston Martin Aramco". Aston Martin Aramco F1 Team. 31 May 2024. สืบค้นเมื่อ 26 April 2025.
  18. Wood, Ida (18 October 2024). "Aston Martin chooses Jak Crawford for F1's young driver test". Formula Scout. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 3 December 2024. สืบค้นเมื่อ 26 April 2025.
  19. van Denderen, Ludo (9 January 2025). "Team confirms: Stoffel Vandoorne will be active in Formula 1 in 2025". GPblog.com. Autosport International. สืบค้นเมื่อ 5 February 2025.
  20. Hamilton, Maurice (30 September 2017). "A brief history of Aston Martin and F1". ESPN. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 5 June 2019. สืบค้นเมื่อ 15 August 2022.
  21. Williams-Smith, Jake (31 January 2020). "Aston Martin's F1 history: 60 years since its last race". Motor Sport. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 1 February 2020. สืบค้นเมื่อ 15 August 2022.
  22. 22.0 22.1 "Racing Point set to become Aston Martin works team for 2021". Formula One. 31 January 2020. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 31 January 2020. สืบค้นเมื่อ 26 March 2020.
  23. Shead, Sam (3 March 2021). "Autos Aston Martin launches first F1 car in over 60 years". CNBC. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 14 December 2021. สืบค้นเมื่อ 19 December 2021.
  24. "Honda to make full-scale F1 return in 2026 as they join forces with Aston Martin". Formula One. 24 May 2023. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 24 May 2023. สืบค้นเมื่อ 24 May 2023.
  25. Straw, Edd (24 May 2023). "Honda deal makes Aston Martin's grand F1 goals plausible". The Race. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 24 May 2023. สืบค้นเมื่อ 24 May 2023.
  26. Valantine, Henry (29 November 2022). "Behind the scenes at Aston Martin as their 'game changer' factory takes shape". PlanetF1.com. Planet Sport. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 29 November 2022. สืบค้นเมื่อ 22 December 2022.
  27. Small, Steve (1994). The Guinness Complete Grand Prix Who's Who. Guinness. pp. 333, 352 and 383. ISBN 0851127029.
  28. "Aston Martin – Grands Prix started". StatsF1. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 6 December 2024. สืบค้นเมื่อ 25 March 2020.
  29. "Aston Martin - Grands Prix not started". StatsF1. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 27 August 2023. สืบค้นเมื่อ 25 March 2020.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]