ข้ามไปเนื้อหา

แลบราดอร์

พิกัด: 54°N 62°W / 54°N 62°W / 54; -62
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
แลบราดอร์
ธงของแลบราดอร์
ธง
สมญา: 
"The Big Land"
คำขวัญ: 
Munus splendidum mox explebitur สำหรับ'Our splendid task will soon be fulfilled'
เพลง: "Ode to Labrador"
แลบราดอร์ (สีแดง)
แลบราดอร์ (สีแดง)
พิกัด: 54°N 62°W / 54°N 62°W / 54; -62
ประเทศแคนาดา
รัฐรัฐนิวฟันด์แลนด์และแลบราดอร์
ถูกยกให้แก่บริเตนใหญ่โดยสนธิสัญญาปารีส1763
เป็นส่วนหนึ่งของรัฐโลเออร์แคนาดา1791
ย้ายมาอยู่ในอาณานิคมนิวฟันด์แลนด์1809
พื้นที่
 • ทั้งหมด294,330 ตร.กม. (113,640 ตร.ไมล์)
ประชากร
 (2021)
 • ทั้งหมด26,655 คน
 • ความหนาแน่น0.091 คน/ตร.กม. (0.23 คน/ตร.ไมล์)
เขตเวลาUTC−4 (AST)
 • ฤดูร้อน (เวลาออมแสง)UTC−3 (ADT)
UTC−3:30 (NST)
 • ฤดูร้อน (เวลาออมแสง)UTC−2:30 (NDT)
MP1
MHA4
Ethnic groupsอังกฤษ, Innu, Inuit, Métis

แลบราดอร์ (อังกฤษ: Labrador) เป็นภูมิภาคทางภูมิศาสตร์และวัฒนธรรมในรัฐนิวฟันด์แลนด์และแลบราดอร์ของประเทศแคนาดา[1] เป็นพื้นที่หลักบนแผ่นดินใหญ่ของรัฐและครอบคลุมพื้นที่ 71% ของรัฐ แต่มีประชากรเพียง 6% เท่านั้น แลบราดอร์มีช่องแคบเบลล์ไอล์คั่นกับเกาะนิวฟันด์แลนด์ แลบราดอร์เป็นภูมิภาคทางภูมิศาสตร์ที่ใหญ่ที่สุดและอยู่เหนือสุดในสี่รัฐทางมหาสมุทรแอตแลนติก[2]

แลบราดอร์ครอบคลุมพื้นที่ส่วนใหญ่ทางทิศตะวันออกของคาบสมุทรแลบราดอร์ มีอาณาเขตติดกับรัฐเกแบ็ก ทางทิศตะวันตกและทิศใต้ แลบราดอร์มีพรมแดนทางบกไม่มากที่ติดกับดินแดนนูนาวุต บนเกาะคิลลินิก

อ้างอิง

[แก้]
  1. "Labrador peninsula (Toponymy)". Gouvernement of Quebec (ภาษาฝรั่งเศส). Commission de Toponymy Quebec. 18 June 1993. สืบค้นเมื่อ 31 August 2024. Over the years, many variations have been used: Terraagricule (1558); Land of Labor (1575); Estotilandt (1597) or Estotilande (1656); Terra Cortereale (1597); New Britain (1656).
  2. Fabien Caron (1965). "Albert Peter Low and the exploration of Quebec-Labrador" (PDF). Érudit (ภาษาอังกฤษ และ ฝรั่งเศส). Center for Nordic Studies, Laval University. p. 16. สืบค้นเมื่อ 23 August 2024. ... he had the consuming curiosity of the born explorer which must always see the other side of the hill or the other end of the river.