แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560ตั้งอยู่ในโลก
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
จุดศูนย์กลางแผ่นดินไหวโดยประมาณใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหว
รุนแรงที่สุด
8.2 Mw เม็กซิโก เม็กซิโก
ผู้เสียชีวิตมากที่สุด7.3 Mw อิหร่าน อิหร่าน
เสียชีวิต 630 คน
ผู้เสียชีวิตทั้งหมด1,232
จำนวนตามแมกนิจูด
9.0+0
8.0−8.91
7.0−7.96
6.0−6.9106
5.0−5.91,451
4.0−4.911,296
← 2559
แผนที่แผ่นดินไหวในปี พ.ศ. 2560 ณ วันที่ 31 ธันวาคม มีแผ่นดินไหวทั้งหมด 12,797 ครั้ง

แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560 แสดงเนื้อหาเฉพาะแผ่นดินไหวขนาด 6 แมกนิจูดขึ้นไป และแผ่นดินไหวที่มีขนาดต่ำกว่า 6 ที่สร้างความเสียหาย มีผู้บาดเจ็บเสียชีวิต หรือมีความโดดเด่นอื่น วันเวลาทั้งหมดแสดงในรูปแบบเวลาสากลเชิงพิกัด (UTC) ความรุนแรงสูงสุดแสดงตามมาตราเมร์กัลลี และใช้แหล่งที่มาจากฐานข้อมูล "ShakeMap" ของสำนักงานสำรวจธรณีวิทยาแห่งสหรัฐ (USGS)

ตารางเทียบรายปี[แก้]

จำนวนของแผ่นดินไหวทั่วโลกระหว่าง พ.ศ. 2550–2560[1]
แมกนิจูด 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560
8.0–9.9 4 0 1 1 1 2 2 1 1 1 1
7.0–7.9 14 12 16 21 19 15 17 11 18 16 6
6.0–6.9 178 168 144 151 204 129 125 140 124 128 106
5.0–5.9 2,074 1,768 1,896 1,963 2,271 1,412 1,402 1,475 1,413 1,502 1,451
4.0–4.9 12,080 12,292 6,805 10,164 13,303 10,990 9,795 13,494 13,239 12,771 11,296
Total 14,350 14,240 8,862 12,300 15,798 12,548 11,341 15,121 14,795 14,420 12,860

สังเกตว่าจำนวนแผ่นดินไหวที่ตรวจพบเพิ่มขึ้นนั้นไม่จำเป็นต้องแสดงว่ามีแผ่นดินไหวเพิ่มขึ้นโดยตัวเอง การเพิ่มขึ้นของประชากร การกระจายถิ่นที่อยู่และความก้าวหน้าของเทคโนโลยีตรวจจับแผ่นดินไหวล้วนเป็นปัจจัยให้มีการบันทึกจำนวนแผ่นดินไหวเพิ่มขึ้นตามกาลทั้งสิ้น ตำนานแผ่นดินไหวของสำนักสำรวจธรณีวิทยาสหรัฐอเมริกามีสารสนเทศเพิ่มเติม

สำหรับประเทศไทย สามารถดูกราฟรายงานแผ่นดินไหวอัตโนมัติได้ที่ สถานีตรวจแผ่นดินไหวอัตโนมัติ สำนักเฝ้าระวังแผ่นดินไหว กรมอุตุนิยมวิทยา และรายงานแผ่นดินไหวภายในประเทศได้ที่ รายงานแผ่นดินไหวภายในประเทศและใกล้เคียง

สำหรับวันที่แน่นอนและการเกิดแผ่นดินไหวสามารถเข้าชมได้ที่ แผนที่แสดงแผ่นดินไหวแบบเรียลไทม์

เรียงตามจำนวนผู้เสียชีวิต[แก้]

ที่ จำนวนผู้เสียชีวิต แมกนิจูด สถานที่ MMI ความลึก (กม.) วันที่
1 630 7.3 อิหร่าน อิหร่าน VIII 19.0 12 พฤศจิกายน
2 370 7.1 เม็กซิโก เม็กซิโก VII 48.0 19 พฤศจิกายน
3 98 8.2 เม็กซิโก เม็กซิโก IX 47.4 8 กันยายน
4 34 5.7 อิตาลี อิตาลี VIII 7.0 18 มกราคม
5 19 6.5 จีน จีน VII 9.0 8 สิงหาคม
  • หมายเหตุ: แสดงเฉพาะแผ่นดินไหวที่มีผู้เสียชีวิตตั้งแต่ 10 คนขึ้นไป

เรียงตามแมกนิจูด[แก้]

ที่ แมกนิจูด จำนวนผู้เสียชีวิต สถานที่ MMI ความลึก (กม.) วันที่
1 7.9 3  ปาปัวนิวกินี VIII 135.0 22 มกราคม
2 7.7 0  รัสเซีย VII 11.0 17 กรกฎาคม
3 7.3 0  ฟิลิปปินส์ III 627.2 10 มกราคม
  • หมายเหตุ: แสดงเฉพาะแผ่นดินไหวที่มีขนาดตั้งแต่ 7.0 แมกนิจูดขึ้นไป

เรียงตามเดือน[แก้]

มกราคม[แก้]

มกราคม
แผ่นดินไหว
รุนแรงที่สุด
7.9 Mw  ปาปัวนิวกินี
ผู้เสียชีวิตมากที่สุด5.7 Mw  อิตาลี
34 ราย
ผู้เสียชีวิตทั้งหมด44 ราย
จำนวนตามแมกนิจูด
8.0−8.90
7.0−7.92
6.0−6.96
5.0−5.9146
4.0−4.91002
วันที่ ตำแหน่ง Mw ลึก (กม.) MMI หมายเหตุ อ้างอิง
รายละเอียด เสียชีวิต บาดเจ็บ

2 ตองงา นอกชายฝั่งตองงา ห่างจากแนวปะการังมิเนอร์วาไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ 180 กม. 6.3 551.6 II 0 0 [2]
3  อินเดีย รัฐตริปุระ ห่างจากแอมบาซาไปทางทิศอีสานเฉียงตะวันออก 20 กม. 5.7 32.0 V ในอินเดียมีผู้เสียชีวิต 1 ราย บาดเจ็บ 5 ราย ในรัฐตริปุระบ้านเรือน 50 หลังได้รับความเสียหายจากดินถล่ม ถนนหลายแห่งมีต้นไม้ล้มขวางทาง[3] ในบังคลาเทศมีผู้เสียชีวิต 2 ราย บาดเจ็บ 3 ราย[4][5] 3 8 [6]
3 ฟีจี นอกชายฝั่งฟีจี ห่างจากนันดีไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ 226 กม. 6.9 12.0 IV มีการประกาศเตือนภัยคลื่นสึนามิในบริเวณฟีจี ตรวจวัดคลื่นความสูง 0.01 เมตรได้ในซูวา[7] 0 0 [8]
3 ฟีจี นอกชายฝั่งฟีจี ห่างจากนันดีไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ 195 กม. 6.0 10.0 IV เป็นแผ่นดินไหวตามหลังแผ่นดินไหวหลักขนาด 6.9 ที่เกิดขึ้นก่อนหน้าในวันเดียวกัน 0 0 [9]
6  อิหร่าน ห่างจากจาห์รามไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ 54 กม. 5.0 10.0 VI มีผู้เสียชีวิต 4 รายในหมู่บ้านเซย์ฟาบัด ในเทศมณฑลคอนจ์ บาดเจ็บ 3 รายในหมู่บ้านชาร์ตาลา[10] 4 3 [11]
8  แคนาดา นูนาวุต ห่างจากเรโซลุตไปทางทิศอาคเนย์เฉียงตะวันออก 79 กม. 6.0 31.0 VII บ้านเรือนในเรโซลุตเสียหายเล็กน้อย[12] เกิดแผ่นดินไหวตามขนาดแมกนิจูด 5.2 หลังแผ่นดินไหวหลัก 18 ชั่วโมง[13] ถือเป็นเหตุการณ์แผ่นดินไหวที่เกิดขึ้นทุก ๆ 300 ปี[12] 0 0 [14]
10 ฟิลิปปินส์ นอกชายฝั่งฟิลิปปินส์ ห่างจากตาเบียลังไปทางทิศอาคเนย์เฉียงใต้ 189 กม. 7.3 627.2 III 0 0 [15]
10  หมู่เกาะโซโลมอน ห่างจากกิรากิราไปทางทิศพายัพเฉียงตะวันตก 104 กม. 6.3 26.0 VI เป็นแผ่นดินไหวนำของแผ่นดินไหวหลักขนาดแมกนิจูด 6.5 0 0 [16]
11  มาดากัสการ์ ห่างจากเบตาโฟไปทางทิศหรดีเฉียงใต้ 41 กม. 5.5 7.3 VI ถือเป็นแผ่นดินไหวที่มีขนาดรุนแรงที่สุดในพื้นที่นับตั้งแต่ พ.ศ. 2534[17] เกิดความเสียหายปานกลางใกล้จุดเหนือศูนย์กลางในบริเวณวากินันการาทราและเบตาโฟ[18] 0 0 [19]
16  อินโดนีเซีย จังหวัดสุมาตราเหนือ ห่างจากเมืองกาบันจาเฮไปทางทิศเหนือ 24 กม. 5.6 6.0 VII บ้านเรือนหลายแห่งเกิดความเสียหายและในเมดันมีการอพยพออกจากอาคารด้วยความแตกตื่น[20] 0 0 [21]
18  อิตาลี ห่างจากอามาตรีเชไปทางทิศหรดีเฉียงตะวันตก 6 กม. 5.7 7.0 VIII เกิดแผ่นดินไหว 4 ครั้งขนาดแมกนิจูดมากกว่า 5.0 ภายในเวลา 5 ชั่วโมง ทำให้เกิดความเสียหายเพิ่มเติมในเมืองอามาตรีเชและแคว้นอาบรุซโซ[22] มีผู้เสียชีวิต 2 รายในกัมโปตอสโต และ 3 รายในเตราโม[23] นอกจากนี้ยังมีการสันนิษฐานว่าแผ่นดินไหวเหล่านี้ทำให้เกิดเหตุหิมะถล่มทับโรงแรมแห่งหนึ่งในฟารินโดลา ซึ่งทำให้มีผู้เสียชีวิตกว่า 29 รายและบาดเจ็บ 11 ราย[24][25] 34 11 [26]
18  อิตาลี ห่างจากเมืองมอนเตเรอัลเลไปทางทิศพายัพเฉียงเหนือ 8 กม. 5.6 10.0 [27]
19  หมู่เกาะโซโลมอน ห่างจากกิรากิราไปทางทิศตะวันตก 65 กม. 6.5 36.0 VII 0 0 [28]
22  ปาปัวนิวกินี ห่างจากปันกูนาไปทางทิศพายัพเฉียงตะวันตก 35 กม. 7.9 135.0 VIII เกิดความเสียหายในอะราวาและตอนกลางของบูกันวิลล์บางส่วน มีผู้เสียชีวิต 3 ราย บาดเจ็บ 1 ราย[29] และมีเหตุไฟฟ้าดับในบูกา[30] 3 1 [31]
31  เอกวาดอร์ ห่างจากเอสเมรัลดัสไปทางทิศใต้ 25 กม. 5.5 10.0 VI บ้านเรือนหลายหลังได้รับความเสียหาย[32] 0 0 [33]

กุมภาพันธ์[แก้]

กุมภาพันธ์
แผ่นดินไหว
รุนแรงที่สุด
6.9 Mw  ตองงา
ผู้เสียชีวิตมากที่สุด6.5 Mw  ฟิลิปปินส์
8 คน
ผู้เสียชีวิตทั้งหมด8 คน
จำนวนตามแมกนิจูด
8.0−8.90
7.0−7.90
6.0−6.95
5.0−5.9107
4.0−4.9770
วันที่ ตำแหน่ง Mw ลึก (กม.) MMI หมายเหตุ อ้างอิง
รายละเอียด เสียชีวิต บาดเจ็บ

3  ฝรั่งเศส นอกชายฝั่งมาร์ตีนิก ห่างจาก Sainte-Marie ไปทางทิศอีสานเฉียงตะวันออก 59 กม. 5.8 44.0 V ผู้บาดเจ็บเป็นหญิง 1 ราย สิ่งของหล่นจากชั้นในซูเปอร์มาร์เก็ต[34] 0 1 [35]
6  ตุรกี ห่างจากแอสซอสไปทางทิศพายัพเฉียงตะวันตก 23 กม. 5.2 7.2 VI มีผู้บาดเจ็บ 5 ราย บ้านเรือนเสียหาย 90 หลังในพื้นที่ 11 หมู่บ้าน[36] 0 5 [37]
6  โคลอมเบีย ห่างจากเทศบาลโคลอมเบีย จังหวัดวีลา ไปทางทิศอีสานเฉียงตะวันออก 16 กม. 5.5 38.0 V มีผู้บาดเจ็บ 1 ราย มีรายงานความเสียหายในเทศบาลโคลอมเบีย[38] มีหินตกบนถนนหลายเส้น[39] 0 1 [40]
6  อินเดีย รัฐอุตตราขัณฑ์ ห่างจากพิปัลโคติไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ 36 กม. 5.1 16.1 IV มีผู้บาดเจ็บ 1 ราย ผู้คนแตกตื่นในพื้นที่รอบจุดเหนือศูนย์แผ่นดินไหว สิ่งปลูกสร้างเกิดรอยร้าวหลายแห่ง[41] 0 1 [42]
7  ปากีสถาน ห่างจากปัสนีไปทางทิศหรดีเฉียงตะวันตก 22 กม. 6.3 29.1 VI ผู้บาดเจ็บเป็นเด็กหญิง 1 รายจากกำแพงพังทับ บ้านเรือนพังถล่มรวม 60 หลังในเมืองปัสนี[43] 0 1 [44]
8  จีน มณฑลยูนนาน ห่างจากเมืองเหวินผิง เทศมณฑลหลู่เตี้ยน ไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ 15 กม. 4.9 10.0 มีผู้บาดเจ็บ 5 รายในเทศมณฑลหลู่เตี้ยน บ้านเรือนอายุมากหลายแห่งพังถล่ม[45] 0 5 [46]
10  ฟิลิปปินส์ ห่างจากซูรีเกาซิตีไปทางทิศเหนือ 10 กม. 6.7 15.0 VIII สิ่งปลูกสร้างหลายแห่งในซูรีเกาซิตีเสียหาย สะพานพัง 6 แห่ง ตัดขาดเมืองซานฟรานซิสโกออกจากโลกภายนอก พื้นที่ได้รับผลกระทบอย่างน้อย 11 เมืองรวมถึงเหตุไฟฟ้าดับ สนามบินซูรีเกาปิดทำการเนื่องจากทางวิ่งเครื่องบินเสียหาย มีผู้เสียชีวิตทั้งสิ้น 8 ราย บาดเจ็บ 250 ราย[47] 8 250 [48]
10  ไต้หวัน ห่างจากไถหนันไปทางทิศใต้ 18 กม. 5.3 15.8 V มีผู้บาดเจ็บ 4 รายในไถหนันและเกาสฺยง[49] ร้านขายของชำหลายแห่งเกิดความเสียหายขนาดเล็ก[50] 0 4 [51]
15  อินโดนีเซีย จังหวัดอาเจะฮ์ ห่างจากสิกลิไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ 15 กม. 5.4 13.0 VI บ้านสองหลังพังถล่ม มีผู้บาดเจ็บ 9 ราย แผ่นดินไหวสองครั้งเกิดขึ้นต่อเนื่องกันในพื้นที่ของอาเจาะฮ์ที่ได้รับผลกระทบจากแผ่นดินไหวขนาด 6.5 แมกนิจูดเมื่อปีที่แล้วซึ่งมีผู้เสียชีวิต 104 ราย[52] 0 9 [53]
15  อินโดนีเซีย จังหวัดอาเจะฮ์ ห่างจากมาเรดูไปทางทิศพายัพเฉียงตะวันตก 15 กม. 5.0 10.0 V [54]
18  อาร์เจนตินา รัฐฆูฆุย ห่างจากซันอันโตนีโอเดโลสโกเบรสไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ 52 กม. 6.4 222.0 IV 0 0 [55]
21  โบลิเวีย ห่างจากปาดิยาไปทางทิศตะวันออก 41 กม. 6.5 596.0 III 0 0 [56]
23  ฟิลิปปินส์ ห่างจากดาเบาไปทางทิศหรดีเฉียงตะวันตก 3 กม. 4.7 11.9 IV มีผู้บาดเจ็บเป็นหญิง 2 รายจากหลังคาที่พักรอตกใส่ในเมืองดาเบา[57] 0 2 [58]
24  แซมเบีย ห่างจากคาปูตาไปทางทิศตะวันออก 40 กม. 5.9 30.0 V บ้านเรือนหลายหลังในอำเภอคาปูตาเสียหาย มีผู้ไร้ที่อยู่อาศัย 11 ครอบครัว บาดเจ็บ 5 ราย[59] 0 5 [60]
24 ตองงา นอกชายฝั่งตองงา ห่างจากแนวปะการังมิเนอร์วาไปทางทิศพายัพเฉียงเหนือ 43 กม. 6.9 414.5 III 0 0 [61]

มีนาคม[แก้]

มีนาคม
แผ่นดินไหว
รุนแรงที่สุด
6.6 Mw  รัสเซีย
ผู้เสียชีวิตมากที่สุด5.1 Mw  พม่า
2 คน
ผู้เสียชีวิตทั้งหมด4 คน
จำนวนตามแมกนิจูด
8.0−8.90
7.0−7.90
6.0−6.96
5.0−5.9129
4.0−4.9855
  • ตุรกี เกิดแผ่นดินไหวขนาด 5.6 แมกนิจูด ในตุรกี ห่างจากเมืองซัมซัต ไปทางตะวันตกเฉียงเหนือ 5 km (3.1 mi) เมื่อวันที่ 2 มีนาคม ที่ความลึก 10.0 km (6.2 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ VII (แรงมาก) มีผู้ได้รับบาดเจ็บอย่างน้อย 30 คน และอาคารบางส่วนได้การเกิดการทรุดตัวลง[62]
  • ปาปัวนิวกินี เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.1 แมกนิจูด ในปาปัวนิวกินี ห่างจากเมืองปังอูนา ไปทางตะวันออกเฉียงใต้ 115 km (71 mi) เมื่อวันที่ 4 มีนาคม ที่ความลึก 17.0 km (10.6 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ VI (แรง)[63]
  • ฟิลิปปินส์ เกิดแผ่นดินไหวขนาด 5.7 แมกนิจูด ในฟิลิปปินส์ ห่างจากเมืองซูริเกาซิตี ไปทางเหนือ 5 km (3.1 mi) เมื่อวันที่ 5 มีนาคม ที่ความลึก 10.5 km (6.5 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ VII (แรงมาก)[64] มีผู้เสียชีวิต 1 คน จากอาการหัวใจวาย และผู้ได้รับบาดเจ็บอีก 45 คน แผ่นดินไหวครั้งนี้เป็นแผ่นดินไหวนำของแผ่นดินไหว 6.5[65]
  • ปาปัวนิวกินี เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.3 แมกนิจูด ในปาปัวนิวกินี ห่างจากหมู่บ้านคันเดรียน ไปทางตะวันตกเฉียงเหนือ 32 km (20 mi) เมื่อวันที่ 5 มีนาคม ที่ความลึก 37.0 km (23.0 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ VI (แรง)[66]
  • สเปน เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.1 แมกนิจูด ในสเปน ห่างจากเมืองโอลซา ไปทางเหนือ 11 km (6.8 mi) เมื่อวันที่ 10 มีนาคม ที่ความลึก 2.6 km (1.6 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ VI (แรง)[67]
  • ประเทศพม่า เกิดแผ่นดินไหวขนาด 5.1 แมกนิจูด ในพม่า ห่างจากเมืองทวารวดี ไปทางตะวันออกเฉียงใต้ 34 km (21 mi) เมื่อวันที่ 13 มีนาคม ที่ความลึก 10.0 km (6.2 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ V (ปานกลาง)[68] วัดในย่างกุ้งบางแห่งได้รับความเสียหายและมีผู้ได้รับบาดเจ็บ 38 คน แต่เสียชีวิต 2 คนที่โรงพยาบาล[69]
  • อินเดีย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.0 แมกนิจูด ในชายฝั่งหมู่เกาะอันดามันและนิโคบาร์ของอินเดีย ห่างจากเมืองโมฮิน ไปทางตะวันตกเฉียงใต้ 230 km (140 mi) เมื่อวันที่ 14 มีนาคม ที่ความลึก 10.0 km (6.2 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ III (อ่อน)[70]
  • หมู่เกาะโซโลมอน เกิดแผ่นดินไหวขนาด 8.4 แมกนิจูด ในหมู่เกาะโซโลมอน ห่างจากเมืองเอากิ ไปทางเหนือ 70 km (43 mi) เมื่อวันที่ 19 มีนาคม ที่ความลึก 8.4 km (5.2 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ VI (แรง)[71]
  • อินโดนีเซีย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 5.6 แมกนิจูด ในอินโดนีเซีย ห่างจากเมือง[บันจาร์มูลุง ไปทางตะวันออกเฉียงใต้ 1 km (0.62 mi) เมื่อวันที่ 21 มีนาคม ที่ความลึก 111.7 km (69.4 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ V (ปานกลาง)[72] บ้านเรือน, วัด, สำนักงานและโรงเรียนได้รับความเสียหายในระหว่างแผ่นดินไหว มีผู้ได้รับบาดเจ็บทั้งหมด 7 คน[73]
  • อียิปต์ เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.1 แมกนิจูด ในอียิปต์ ห่างจากเมืองสุเอซ ไปทางตะวันตกเฉียงเหนือ 69 km (43 mi) เมื่อวันที่ 24 มีนาคม ที่ความลึก 1.6 km (0.99 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ V (ปานกลาง)[74] มีผู้เสียชีวิต 1 คน และผู้ได้รับบาดเจ็บ 7 คน[75]
  • จีน เกิดแผ่นดินไหวขนาด 5.0 แมกนิจูด ในจีน ห่างจากเมืองหฺยวี่หู มณฑลยูนนาน ไปทางตะวันตกเฉียงใต้ 23 km (14 mi) เมื่อวันที่ 26 มีนาคม ที่ความลึก 27.6 km (17.1 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ II (อ่อน)[76]
  • สหรัฐ เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.2 แมกนิจูด ในสหรัฐ ห่างจากเมืองแอตตูสเตชัน รัฐอะแลสกา ไปทางตะวันตก 63 km (39 mi) เมื่อวันที่ 27 มีนาคม ที่ความลึก 20.6 km (12.8 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ V (ปานกลาง)[77]
  • รัสเซีย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.6 แมกนิจูด ในรัสเซีย ห่างจากเมืองอุสต์-คัมชัตสค์ ไปทางตะวันออกเฉียงเหนือ 81 km (50 mi) เมื่อวันที่ 29 มีนาคม ที่ความลึก 17.0 km (10.6 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ VIII (อย่างรุนแรง)[78]
  • เม็กซิโก เกิดแผ่นดินไหวขนาด 5.7 แมกนิจูด นอกชายฝั่งเม็กซิโก ห่างจากเมืองอีเกราเดซาราโกซา รัฐซีนาโลอา ไปทางตะวันตกเฉียงใต้ 78 km (48 mi) เมื่อวันที่ 29 มีนาคม ที่ความลึก 17.0 km (10.6 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ IV (เบา)[79]

เมษายน[แก้]

เมษายน
แผ่นดินไหว
รุนแรงที่สุด
6.9 Mw  ชิลี
6.9 Mw  ฟิลิปปินส์
ผู้เสียชีวิตมากที่สุด6.1 Mw  อิหร่าน
เสียชีวิต 2 คน
ผู้เสียชีวิตทั้งหมด3
จำนวนตามแมกนิจูด
8.0−8.90
7.0−7.90
6.0−6.97
5.0−5.9129
4.0−4.9953
  • ปานามา เกิดเหตุแผ่นดินไหวขนาด 5.3 แมกนิจูด เมื่อวันที่ 2 เมษายน[80] ในประเทศปานามาห่างจากเมืองเซโร พูตาทางตอนเหนือไป 18 กิโลเมตร อาคารสองแห่งได้รับความเสียหาย ของในห้างสรรพสินค้าตกหล่น เป็นแผ่นดินไหวที่มีขนาด VII (แรงมาก)[81]
  • แอฟริกาใต้ เกิดเหตุแผ่นดินไหวขนาด 5.2 แมกนิจูด เมื่อวันที่ 3 เมษายน[82] ในประเทศแอฟริกาใต้ห่างจากเมืองสโตฟาทีน ทางตอนตะวันออกเฉียงใต้ไป 7 กิโลเมตร ปูนปลาสเตอร์หล่นลงมาจากผนัง บ้านได้รับความเสียหายเล็กน้อย เป็นแผ่นดินไหวที่มีขนาด VII (แรงมาก)[83]
  • บอตสวานา เกิดเหตุแผ่นดินไหวขนาด 6.5 แมกนิจูด เมื่อวันที่ 3 เมษายน[84] ในประเทศบอตสวานาห่างจากเมืองมอยยามานา ทางตอนตะวันตกเฉียงใต้ไป 132 กิโลเมตร เป็นแผ่นดินไหวที่รุนแรงที่สุดในประเทศบอตสวานานับตั้งแต่ปี พ.ศ. 2495[85][86] นักเรียนในโรงเรียน 36 คน ได้รับบาดเจ็บจากเหตุแผ่นดินไหว แผ่นดินไหวนี้มีขนาด VII (แรงมาก)[87]
  • ฟิลิปปินส์ เกิดเหตุแผ่นดินไหวขนาด 5.1 แมกนิจูด เมื่อวันที่ 4 เมษายน[88] ในประเทศฟิลิปปินส์ห่างจากเมืองมาเทนเก็ต ซิตี้ทางตะวันตกไป 5 กิโลเมตร เมืองมาเทนเก็ต ซิตี้ และเมืองทาบาเซนกาได้รับผลกระทบ มีไฟดับในบางส่วน เป็นแผ่นดินไหวที่มีขนาด VI (แรง)[89]
  • อิหร่าน เกิดเหตุแผ่นดินไหวขนาด 6.1 แมกนิจูด เมื่อวันที่ 5 เมษายน[90] ในประเทศอิหร่านห่างจากเมืองโทร์บัส-อี แจม ทางตอนตะวันตกเฉียงเหนือไป 61 กิโลเมตร ร้อยละ 40 อาคารได้รับความเสียหายจาก 4 หมู่บ้าน บ้านอาคารบางแห่งได้รับความเสียหายอย่างหนักในเมืองมาชาด สายโทรศัพท์ระโยงระยาง[91] มีผู้เสียชีวิต 2 คนและอีก 34 คนได้รับบาดเจ็บ เป็นแผ่นดินไหวที่มีขนาด VII (แรงมาก)[92]
  • กรีซ เกิดเหตุแผ่นดินไหวขนาด 4.8 แมกนิจูด เมื่อวันที่ 5 เมษายน[93] ในประเทศกรีซห่างจากเมืองนาฟเพ็ทโทสทางตอนตะวันตกเฉียงใต้ไป 1 กิโลเมตร สิ่งก่อสร้างโบราณได้รับความเสียหายเล็กน้อย อิฐตกลงมาบนถนนน เกิดไฟดับที่เมืองริโอ เป็นแผ่นดินไหวที่มีขนาด VII (แรงมาก)[94]
  • ฟิลิปปินส์ เกิดเหตุแผ่นดินไหวขนาด 5.9 แมกนิจูด เมื่อวันที่ 8 เมษายน[95] ในประเทศฟิลิปปินส์ห่างจากเมืองทารากาทางตอนตะวันตกเฉียงเหนือไป 1 กิโลเมตร บ้านและอาคารได้รับผลกระทบ เกิดดินถล่มที่ภูเขามาโคลอด มีรายงานว่าเกิดเหตุไฟดับ[96] มีผู้บาดเจ็บ 6 คน มีประมาณ 14,000 คนได้อพยพไปสู่ศูนย์อพยพชั่วคราว เป็นแผ่นดินไหวที่มีขนาด VI (แรง)[97]
  • เอลซัลวาดอร์ เกิดเหตุแผ่นดินไหวขนาด 4.8 แมกนิจูด เมื่อวันที่ 10 เมษายน[98] ในประเทศเอลซัลวาดอร์ห่างจากเมืองโซยาพันโกทางตอนเหนือไป 3 กิโลเมตร บ้านในแอนติโก คันเคนตัสได้รับผลกระทบ และเกิดดินถล่มในบางพื้นที่ มีผู้เสียชีวิต 1 คน มีผู้บาดเจ็บ 3 คน ซึ่งเกิดจากก้อนหินที่ตกลงมาทางทางหลวง เป็นแผ่นดินไหวที่มีขนาด VI (แรง)[99]
  • ฟิลิปปินส์ เกิดเหตุแผ่นดินไหวขนาด 5.8 แมกนิจูด เมื่อวันที่ 11 เมษายน[100] ในประเทศฟิลิปปินส์ห่างจากเมืองโอไซทางตอนเหนือไป 8 กิโลเมตร บ้านประมาณ 500 หลัง และมัสยิด 2 หลังได้รับความเสียหายในเมืองลาเดอ นา เซอ ถนนหลักแห่งชาติเกิดรอยแตก มี 1 คนได้รับบาดเจ็บ เป็นแผ่นดินไหวที่มีขนาด VII (แรงมาก)[101]
  • ชิลี เกิดเหตุแผ่นดินไหวขนาด 6.3 แมกนิจูด เมื่อวันที่ 15 เมษายน ในประเทศชิลีห่างจากเมืองแซน เพโด เดอะ ออเทอคัมมาทางตอนตะวันออกเฉียงใต้ไป 63 กิโลเมตร เป็นแผ่นดินไหวที่มีขนาด IV (เบา)[102]
  • ฟีจี เกิดเหตุแผ่นดินไหวขนาด 6.0 แมกนิจูด เมื่อวันที่ 18 เมษายน ในประเทศฟีจีห่างจากเกาะดินอยทางตอนเหนือไป 285 กิโลเมตร เป็นแผ่นดินไหวที่มีขนาด II (อ่อน)[103]
  • ชิลี เกิดเหตุแผ่นดินไหวขนาด 6.0 แมกนิจูด เมื่อวันที่ 23 เมษายน ในประเทศชิลีห่างจากเมืองบัลปาราอีโซทางตะวันตกไป 37 กิโลเมตร แผ่นดินไหวนำวัดได้ขนาด 6.9 เป็นแผ่นดินไหวที่มีขนาด VI (แรง)[104]
  • ชิลี เกิดเหตุแผ่นดินไหวขนาด 6.9 แมกนิจูด เมื่อวันที่ 24 เมษายน[105] ในประเทศชิลีห่างจากเมืองบัลปาราอีโซทางตะวันตกไป 40 กิโลเมตร ท่าอากาศยานนานาชาติซานเตียโกได้รับความเสียหายเล็กน้อย รถบางครั้งได้รับความเสียหายจากก้อนหินที่ตกลงมา เป็นแผ่นดินไหวที่มีขนาด VII (แรงมาก)[106]
  • ฟิลิปปินส์ เกิดเหตุแผ่นดินไหวขนาด 6.9 แมกนิจูด เมื่อวันที่ 28 เมษายน[107] ในประเทศฟิลิปปินส์ห่างจากเมืองขุเรียนทางตอนตะวันตกดฉียงใต้ไป 31 กิโลเมตร อาคารและบ้านบางแห่งพังทลายลงมา มีผู้ได้รับบาดเจ็บ 5 คน เป็นแผ่นดินไหวที่มีขนาด VII (แรงมาก)[108]

พฤษภาคม[แก้]

พฤษภาคม
แผ่นดินไหว
รุนแรงที่สุด
6.8 Mw  วานูวาตู
ผู้เสียชีวิตมากที่สุด5.4 Mw  จีน
เสียชีวิต 8 คน
ผู้เสียชีวิตทั้งหมด12 คน
จำนวนตามแมกนิจูด
8.0−8.90
7.0−7.90
6.0−6.911
5.0−5.9139
4.0−4.9930
  • แคนาดา เกิดเหตุแผ่นดินไหว เมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม ในรัฐบริติชโคลัมเบีย, ประเทศแคนาดา ห่างจากเมืองสแคกเวย์, สหรัฐ ทางตอนตะวันตกเฉียงเหนือไป 88 กิโลเมตร แผ่นดินไหวในครั้งนี้มีความคล้ายคลึงกับแผ่นดินไหวที่เคยเกิดขึ้นมาแล้ว
    • ครั้งแรก: เกิดเหตุแผ่นดินไหวขนาด 6.2 แมกนิจูด เป็นแผ่นดินไหวที่มีขนาด VII (แรงมาก)[109]
    • ครั้งสอง: เกิดเหตุแผ่นดินไหวขนาด 6.3 แมกนิจูด เป็นแผ่นดินไหวที่มีขนาด VIII (อย่างรุนแรง)[110]
  • อิหร่าน เกิดเหตุแผ่นดินไหวขนาด 5.1 แมกนิจูด เมื่อวันที่ 2 พฤษภาคม[111] ในประเทศอิหร่านห่างจากเมืองโทร์บอต-เอยอม ทางตอนเหนือไป 65 กิโลเมตร มีผู้บาดเจ็บ 2 คน มีแผ่นดินไหวตามขนาด 6.1 แมกนิจูดเหมือนกับแผ่นดินไหวในเดือนเมษายน เป็นแผ่นดินไหวที่มีขนาด V (ปานกลาง)[112]
  • ทาจิกิสถาน เกิดเหตุแผ่นดินไหวขนาด 6.0 แมกนิจูด เมื่อวันที่ 3 พฤษภาคม[113] ในประเทศทาจิกิสถานห่างจากคาราเคนจาทางตอนตะวันตกเฉียงเหนือไป 29 กิโลเมตร มีบ้านสองแห่งได้รับความเสียหายในประเทศทาจิกิสถาน[114] ในประเทศคีร์กีซสถานมีแกะตาย 110 ตัวเนื่องจากหินถล่ม และสิ่งก่อสร้างอีก 100 แห่งได้รับความเสียหาย[115] และมีชายคนหนึ่งได้รับบาดเจ็บจากกำแพงถล่ม เป็นแผ่นดินไหวที่มีขนาด VII (แรงมาก)[116]
  • สหรัฐ เกิดเหตุแผ่นดินไหวขนาด 6.2 แมกนิจูด เมื่อวันที่ 8 พฤษภาคม ในรัฐอะแลสกา ประเทศสหรัฐห่างจากภูเขาไฟทานากาทางตอนตะวันตกเฉียงใต้ไป 34 กิโลเมตร เป็นแผ่นดินไหวที่มีขนาด VI (แรง)[117]
  • ญี่ปุ่น เกิดเหตุแผ่นดินไหวขนาด 6.0 แมกนิจูด เมื่อวันที่ 9 พฤษภาคม ในประเทศญี่ปุ่นห่างจากเมืองฮิราระ จังหวัดโอกินาวะทางตอนตะวันออกเฉียงใต้ไป 111 กิโลเมตร เป็นแผ่นดินไหวที่มีขนาด IV (เบา)[118]
  • วานูวาตู เกิดเหตุแผ่นดินไหวขนาด 6.8 แมกนิจูด เมื่อวันที่ 9 พฤษภาคม ในประเทศวานูอาตูห่างจากเมืองพอร์ตออลรี ทางตอนตะวันออกเฉียงเหนือไป 62 กิโลเมตร เป็นแผ่นดินไหวที่มีขนาด V (ปานกลาง)
  • จีน เกิดเหตุแผ่นดินไหวขนาด 5.4 แมกนิจูด เมื่อวันที่ 10 พฤษภาคม ในประเทศจีนห่างจากเมืองมูร์กับประเทศทาจิกิสถานทางตอนตะวันออกเฉียงใต้ไป 131 กิโลเมตร มีผู้เสียชีวิตทั้งหมด 8 คน และบาดเจ็บ 29 คนมีผู้ถูกทับอยู่ในบ้านหลายคน ที่หมู่บ้านครูกันมีบ้านพังถล่มเสียหาย 1,520 หลังคา มีผู้อพยพ 9,000 กว่าคน เป็นแผ่นดินไหวที่มีขนาด VI (แรง)
  • เกาะเซาท์จอร์เจียและหมู่เกาะเซาท์แซนด์วิช เกิดเหตุแผ่นดินไหวขนาด 6.5 แมกนิจูด เมื่อวันที่ 10 พฤษภาคม นอกชายฝั่งของเกาะเซาท์จอร์เจียและหมู่เกาะเซาท์แซนด์วิช ห่างจากเกาะวีโซคอย ไปทางตะวันออกเฉียงเหนือ 95 km (59 mi) ที่ความลึก 15.0 km (9.3 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ IV (เบา)[119]
  • อาเซอร์ไบจาน เกิดเหตุแผ่นดินไหวขนาด 5.1 แมกนิจูด เมื่อวันที่ 11 พฤษภาคม ในประเทศอาเซอร์ไบจานห่างจากเมืองเตลมันเกด ไปทางตะวันออกเฉียงใต้ 16 km (9.9 mi) ที่ความลึก 62.8 km (39.0 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ V (ปานกลาง)[120] มีผู้บาดเจ็บ 20 คนในปอร์ซาบอด, อิหร่าน[121]
  • ตุรกี เกิดเหตุแผ่นดินไหวขนาด 5.1 แมกนิจูด เมื่อวันที่ 11 พฤษภาคม ในประเทศตุรกีห่างจากเมืองอัชกาแล ไปทางตะวันออกเฉียงเหนือ 13 km (8.1 mi) ที่ความลึก 13.4 km (8.3 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ VII (แรงมาก)[122]
  • เอลซัลวาดอร์ เกิดเหตุแผ่นดินไหวขนาด 6.2 แมกนิจูด เมื่อวันที่ 12 พฤษภาคม ในประเทศเอลซัลวาดอร์ห่างจากเมืองอากาฮุตลา ไปทางตะวันตกเฉียงใต้ 78 km (48 mi) ที่ความลึก 16 km (9.9 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ IV (เบา)[123]
  • อิหร่าน เกิดเหตุแผ่นดินไหวขนาด 5.6 แมกนิจูด เมื่อวันที่ 13 พฤษภาคม ในประเทศอิหร่านห่างจากเมืองบอจแนร์ด ไปทางตะวันตกเฉียงเหนือ 34 km (21 mi) ที่ความลึก 8 km (5.0 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ VII (แรงมาก)[124] มีผู้เสียชีวิต 3 คน และผู้ได้รับบาดเจ็บ 400 คน ใกล้กับหมู่บ้านพอซอนดอร์เรฮ์ [125]
  • ปาปัวนิวกินี เกิดเหตุแผ่นดินไหวขนาด 6.2 แมกนิจูด เมื่อวันที่ 15 พฤษภาคม ในประเทศปาปัวนิวกินีห่างจากเมืองนามาทาไม ไปทางตะวันตกเฉียงเหนือ 39 km (24 mi) ที่ความลึก 8 km (5.0 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ VII (แรงมาก)[126]

มิถุนายน[แก้]

มิถุนายน
แผ่นดินไหว
รุนแรงที่สุด
6.9 Mw  กัวเตมาลา
ผู้เสียชีวิตมากที่สุด6.9 Mw  กัวเตมาลา
เสียชีวิต 5 คน
ผู้เสียชีวิตทั้งหมด7 คน
จำนวนตามแมกนิจูด
8.0−8.90
7.0−7.90
6.0−6.910
5.0−5.990
4.0−4.9839
  • สหรัฐ เกิดเหตุแผ่นดินไหวขนาด 6.8 แมกนิจูด เมื่อวันที่ 2 มิถุนายน ในรัฐอะแลสกา, สหรัฐห่างจากเมืองออทู สเตชัน, รัฐอะแลสกา ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ไป 200 กิโลเมตร เป็นแผ่นดินไหวที่มีขนาด IV (เบา)[127]
  • เอกวาดอร์ เกิดเหตุแผ่นดินไหวขนาด 5.6 แมกนิจูด เมื่อวันที่ 5 มิถุนายน[128] ในเอกวาดอร์ห่างจากเมืองพาพา เยา, ประเทศเปรู ทางทิศตะวันออก ไป 41 กิโลเมตร บริเวณศูนย์กลางแผ่นดินไหวมีบ้านหลายหลังในประเทศเอกวาดอร์และเปรูได้รับความเสียหาย มีผู้บาดเจ็บ 2 คนในจังหวัดปรวยรา เป็นแผ่นดินไหวที่มีขนาด IV (เบา)[129]
  • กรีซ เกิดเหตุแผ่นดินไหวขนาด 6.3 แมกนิจูด เมื่อวันที่ 12 มิถุนายน[130] ในประเทศกรีซห่างจากเมืองปอมมารี ทางทิศใต้ ไป 5 กิโลเมตร บ้านในเมืองปอมมารีได้รับความเสียหายเกือบทั้งหมด บางแห่งพังทลาย มีผู้พบศพหญิง 1 คนในหมู่บ้านวลีซา ซึ่งเสียชีวิตอยู่ภายใต้บ้านเรือนปรักหักพัง เหตุแผ่นดินไหวในครั้งนี้มีผู้บาดเจ็บ 15 คน และไร้ที่อยู่ 800 คนโดยประมาณ[131] แผ่นดินไหวมีแรงสั่นสะเทือนเกิดขึ้นทั่วประเทศกรีซ, ตุรกี และบัลแกเรีย เป็นแผ่นดินไหวที่มีขนาด IX (ร้ายแรง)[132][133]
  • ประเทศกัวเตมาลา เกิดเหตุแผ่นดินไหวขนาด 6.9 แมกนิจูด เมื่อวันที่ 14 มิถุนายน[134] ในประเทศกัวเตมาลาห่างจากเมืองมาลากันเทน ทางทิศหรดีเฉียงตะวันตก ไป 3 กิโลเมตร มีผู้เสียชีวิต 5 ราย (3 ใน 5 เสียชีวิตเพราะหัวใจวาย และบาดเจ็บอีก 19 คน) บ้านเรือนได้รับความเสียหายอย่างหนัก เกิดดินถล่มในบางพื้นที่[135][136] ในประเทศเม็กซิโกมีผู้บาดเจ็บทั้งหมด 11 คน เป็นแผ่นดินไหวที่มีขนาด VI (แรง)[137]
  • นิวซีแลนด์ เกิดเหตุแผ่นดินไหวขนาด 6.0 แมกนิจูด เมื่อวันที่ 15 มิถุนายน ในประเทศนิวซีแลนด์ห่างจากเกาะคามาเด็ก ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ไป 129 กิโลเมตร เป็นแผ่นดินไหวที่มีขนาด III (อ่อน)[138]
  • ตองงา เกิดเหตุแผ่นดินไหวขนาด 6.1 แมกนิจูด เมื่อวันที่ 17 มิถุนายน ในประเทศตองงาห่างจากพืดหินใต้น้ำเมดควรา ทางทิศตะวันตกเฉียงตะวันตกเฉียงใต้ ไป 110 กิโลเมตร เป็นแผ่นดินไหวที่มีขนาด II (อ่อนมาก)[139]
  • ประเทศกัวเตมาลา เกิดเหตุแผ่นดินไหวขนาด 6.8 แมกนิจูด เมื่อวันที่ 22 มิถุนายน [140] ในประเทศกัวเตมาลาห่างจากเมืองปูเตรซานโจว ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ไป 28 กิโลเมตร มีบ้านเรือนได้รับความเสียหายหลายแห่ง[141][142] มีผู้บาดเจ็บทั้งหมด 4 คนจากเหตุการณ์[143] เป็นแผ่นดินไหวที่มีขนาด VII (แรงมาก)
  • เปรู เกิดเหตุแผ่นดินไหวขนาด 5.8 แมกนิจูด เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน[144] ในประเทศเปรูห่างจากเมืองโคเลโคเล ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ไป 60 กิโลเมตร มีบ้านบางแห่งพังทลายลงมาในจังหวัดซาราเวริ[145] เป็นแผ่นดินไหวที่มีขนาด IV (เบา)
  • ญี่ปุ่น เกิดเหตุแผ่นดินไหวขนาด 5.2 แมกนิจูด เมื่อวันที่ 25 มิถุนายน[146] ในประเทศญี่ปุ่นห่างจากเมืองอินะ ทางทิศตะวันตก ไป 35 กิโลเมตร มีผู้ได้รับบาดเจ็บ 2 คน โดยเกิดดินถล่ม บ้านเรือนที่พักอาศัยได้รับความเสียหายเล็กน้อยเป็นแผ่นดินไหวที่มีขนาด V (ปานกลาง)[147]
  • ตองงา เกิดเหตุแผ่นดินไหวขนาด 6.0 แมกนิจูด เมื่อวันที่ 25 มิถุนายน ในประเทศตองงาห่างจากเปยกายร์ ทางทิศตะวันตก ไป 198 กิโลเมตร เป็นแผ่นดินไหวที่มีขนาด IV (เบา)[148]

อ้างอิง[แก้]

  1. "USGS Real-time Earthquake Map with exact dates and live earthquake reports". United States Geological Survey.
  2. "M6.3 - South of the Fiji Islands". United States Geological Survey. 2 มกราคม 2560. สืบค้นเมื่อ 5 กุมภาพันธ์ 2560. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  3. "Woman dies and few injured as quake hits northeast India". thenortheasttoday.com. January 3, 2017. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-01-04. สืบค้นเมื่อ January 3, 2017.
  4. "Earthquake kills schoolgirl in Sylhet". www.observerbd.com. January 3, 2017. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-01-04. สืบค้นเมื่อ January 3, 2017.
  5. "1 dies of fright as tremor shakes Bangladesh | Dhaka Tribune". Dhaka Tribune. January 3, 2017. สืบค้นเมื่อ January 3, 2017.
  6. "M 5.7 - 20km ENE of Ambasa, India". United States Geological Survey. January 3, 2017. สืบค้นเมื่อ February 25, 2017.
  7. "TSUNAMI MESSAGE NUMBER 3". Pacific Tsunami Warning Center. January 3, 2017. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-05-15. สืบค้นเมื่อ January 4, 2017.
  8. "M6.9 - 226km SW of Nadi, Fiji". United States Geological Survey. January 3, 2017. สืบค้นเมื่อ February 25, 2017.
  9. "M 6.0 - 195km SW of Nadi, Fiji". United States Geological Survey. January 3, 2017. สืบค้นเมื่อ March 2, 2017.
  10. "Quake rattles southern Iran, four Afghan laborers killed". Reuters. January 6, 2017. สืบค้นเมื่อ January 6, 2017 – โดยทาง The Jerusalem Post.
  11. "M5.0 - 54km SW of Jahrom, Iran". United States Geological Survey. January 6, 2017. สืบค้นเมื่อ January 6, 2017.
  12. 12.0 12.1 "Cracked windows, shaking after High Arctic earthquake and aftershock". CBC North. January 9, 2017. สืบค้นเมื่อ January 10, 2017.
  13. "M5.2 - 74km ESE of Resolute, Canada". United States Geological Survey. January 9, 2017. สืบค้นเมื่อ January 10, 2017.
  14. "M 6.0 - 79km ESE of Resolute, Canada". United States Geological Survey. January 8, 2017. สืบค้นเมื่อ February 25, 2017.
  15. "M7.3 - 189km SSE of Tabiauan, Philippines". United States Geological Survey. February 25, 2017. สืบค้นเมื่อ January 10, 2017.
  16. "M6.3 - 104km WNW of Kirakira, Solomon Islands". United States Geological Survey. January 10, 2017. สืบค้นเมื่อ February 25, 2017.
  17. "Un tremblement de terre enregistré à Betafo" [An earthquake recorded in Betafo]. L'Express de Madagascar - Actualités en direct sur Madagascar (ภาษาฝรั่งเศส). January 12, 2017. สืบค้นเมื่อ January 12, 2017.
  18. "Un tremblement de terre a été enregistré à Betafo" [An earthquake was recorded in Betafo]. Moov.mg (ภาษาฝรั่งเศส). January 11, 2017. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-01-15. สืบค้นเมื่อ January 11, 2017.
  19. "M5.5 - 41km SSW of Betafo, Madagascar". United States Geological Survey. January 11, 2017. สืบค้นเมื่อ February 11, 2017.
  20. "Quake rattles Indonesia's Medan". NewsComAu. January 17, 2017. สืบค้นเมื่อ January 17, 2017.
  21. "M 5.6 - 24km N of Kabanjahe, Indonesia". United States Geological Survey. January 16, 2016. สืบค้นเมื่อ April 26, 2017.
  22. "Four earthquakes recorded in Italy months after worst disaster in the regions history". Big News Network.com. January 18, 2017. สืบค้นเมื่อ January 18, 2017.
  23. "Sisma, due morti a Campotosto e tre nel Teramano" [Sisma, two deaths in Campotosto and three in Teramo]. Tgcom24 (ภาษาอิตาลี). January 20, 2017. สืบค้นเมื่อ January 20, 2017.
  24. "Slavina Rigopiano, recuperati i corpi degli ultimi due dispersi" [Avalanche Rigopiano, recovered the bodies of the last two missing] (ภาษาอิตาลี). TGCOM24. January 25, 2017. สืบค้นเมื่อ January 26, 2017.
  25. Geggel, Laura (January 20, 2017). "Earthquakes or Snowstorms? Cause of Italy's Deadly Avalanche Debated". Live Science. สืบค้นเมื่อ January 20, 2017.
  26. "M 5.7 - 6km WSW of Amatrice, Italy". United States Geological Survey. January 18, 2017. สืบค้นเมื่อ February 25, 2017.
  27. "M 5.6 - 8km NNW of Montereale, Italy". United States Geological Survey. January 18, 2017. สืบค้นเมื่อ January 24, 2017.
  28. "M 6.5 - 65km W of Kirakira, Solomon Islands". United States Geological Survey. January 20, 2017. สืบค้นเมื่อ February 25, 2017.
  29. Aloysius Laukai (January 24, 2017). "240117QUAKE HITS BOUGAINVILLE". NEW DAWN ON BOUGAINVILLE. สืบค้นเมื่อ January 27, 2017.
  30. Rod Mcguirk (January 22, 2017). "Strong quake hits Solomons; some damage but no tsunami". Associated Press. สืบค้นเมื่อ January 22, 2017 – โดยทาง The Daily Republican.
  31. "M 7.9 - 35km WNW of Panguna, Papua New Guinea". United States Geological Survey. January 22, 2017. สืบค้นเมื่อ February 9, 2017.
  32. "Earthquakes Rock Ecuador During Tsunami Simulation Drills". Prensa Latina. January 31, 2017. สืบค้นเมื่อ February 1, 2017.
  33. "M 5.5 - 25km S of Propicia, Ecuador". United States Geological Survey. January 31, 2017. สืบค้นเมื่อ February 1, 2017.
  34. "Important séisme vendredi après-midi en Martinique" [Important earthquake Friday afternoon in Martinique] (ภาษาฝรั่งเศส). Francetvinfo. February 3, 2017. สืบค้นเมื่อ February 4, 2017.
  35. "M 5.8 - 59km ENE of Sainte-Marie, Martinique". United States Geological Survey. February 3, 2017. สืบค้นเมื่อ March 12, 2017.
  36. "2 magnitude 5.3 earthquakes jolt Turkey; minor damage caused". The Charlotte Observer. February 6, 2017. สืบค้นเมื่อ February 6, 2017.
  37. "M 5.2 - 23km WNW of Behram, Turkey". United States Geological Survey. February 6, 2017. สืบค้นเมื่อ March 15, 2017.
  38. "Una persona herida deja el sismo de 5.7 grados en Neiva" [A wounded person leaves the earthquake of 5.7 degrees in Neiva]. RCN Radio (ภาษาสเปน). February 6, 2017. สืบค้นเมื่อ February 6, 2017.
  39. "Cúpula de la iglesia de Colombia (Huila) sufrió afectaciones tras temblor de 5.7" [Dome of the church of Colombia (Huila) suffered affectations after tremor of 5.7]. Noticias RCN (ภาษาสเปน). February 6, 2017. สืบค้นเมื่อ February 6, 2017.
  40. "M 5.5 - 16km ENE of Colombia, Colombia". United States Geological Survey. February 6, 2017. สืบค้นเมื่อ February 22, 2017.
  41. "After quake, parties rush to assure support in Rudraprayag". Hindustan Times. February 7, 2017. สืบค้นเมื่อ February 7, 2017.
  42. "M 5.1 - 36km NW of Pipalkoti, India". United States Geological Survey. February 6, 2017. สืบค้นเมื่อ March 2, 2017.
  43. "Strong quake strikes Makran coast". DAWN.COM. February 9, 2017. สืบค้นเมื่อ February 9, 2017.
  44. "M 6.3 - 22km WSW of Pasni, Pakistan". United States Geological Survey. May 6, 2017. สืบค้นเมื่อ February 25, 2017.
  45. "5 injured in southwest China quake". Manila Bulletin News. February 9, 2017. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-04-23. สืบค้นเมื่อ February 9, 2017.
  46. "M 4.9 - 15km NW of Wenping, China". United States Geological Survey. February 8, 2017. สืบค้นเมื่อ February 9, 2017.
  47. Mateo, Janvic (April 9, 2017). "4 powerful quakes rattle Batangas, Metro Manila". The Philippine Star. สืบค้นเมื่อ April 9, 2017.
  48. "M 6.5 - 10km N of Mabua, Philippines". United States Geological Survey. February 10, 2017. สืบค้นเมื่อ March 12, 2017.
  49. "Aftershocks may occur over next two weeks after Tainan earthquake". Central News Agency (Taiwan). February 11, 2017. สืบค้นเมื่อ February 11, 2017.
  50. Sophia Yang (February 11, 2017). "Magnitude 5.6 earthquake rocks southern Taiwan". Taiwan News. สืบค้นเมื่อ February 11, 2017.
  51. "M 5.3 - 18km S of Tainan, Taiwan". United States Geological Survey. February 10, 2017. สืบค้นเมื่อ March 23, 2017.
  52. "Quakes rock area of Indonesian province devastated in Dec". Associated Press. February 15, 2017. สืบค้นเมื่อ February 16, 2017.
  53. "M 5.4 - 15km SE of Sigli, Indonesia". United States Geological Survey. February 15, 2017. สืบค้นเมื่อ March 8, 2017.
  54. "M 5.0 - 15km WNW of Reuleuet, Indonesia". United States Geological Survey. February 15, 2017. สืบค้นเมื่อ April 15, 2017.
  55. "M 6.4 - 52km NW of San Antonio de los Cobres, Argentina". United States Geological Survey. February 18, 2017. สืบค้นเมื่อ March 29, 2017.
  56. "M 6.5 - 41km E of Padilla, Bolivia". United States Geological Survey. February 21, 2017. สืบค้นเมื่อ February 21, 2017.
  57. "Magnitude 4.6 quake rocks Davao area, 2 injured". Rappler. February 23, 2017. สืบค้นเมื่อ February 23, 2017.
  58. "M 4.7 - 3km WSW of Davao, Philippines". United States Geological Survey. February 23, 2017. สืบค้นเมื่อ March 27, 2017.
  59. "Earthquake hits North". Times of Zambia. February 25, 2017. สืบค้นเมื่อ February 25, 2017.
  60. "M 5.9 - 40km E of Kaputa, Zambia". United States Geological Survey. February 24, 2017. สืบค้นเมื่อ May 16, 2017.
  61. "M 6.9 - 289km S of Ndoi Island, Fiji". United States Geological Survey. February 24, 2017. สืบค้นเมื่อ March 10, 2017.
  62. "Eight-year-old saves infant sister during quake". Daily Sabah. March 3, 2017. สืบค้นเมื่อ March 4, 2017.
  63. "M 6.1 - 115km SSE of Panguna, Papua New Guinea". United States Geological Survey. March 4, 2017. สืบค้นเมื่อ March 26, 2017.
  64. "M 5.7 - 5km N of Surigao, Philippines". United States Geological Survey. March 5, 2017. สืบค้นเมื่อ March 23, 2017.
  65. "Magnitude 5.9 quake hits Surigao City; 1 dead, 45 injured". Sun Star. March 5, 2017. สืบค้นเมื่อ March 5, 2017.[ลิงก์เสีย]
  66. "M 6.3 - 32km NW of Kandrian, Papua New Guinea". United States Geological Survey. March 5, 2017. สืบค้นเมื่อ April 4, 2017.
  67. "M 4.1 - 11km N of Oltza, Spain". United States Geological Survey. March 10, 2017. สืบค้นเมื่อ April 5, 2017.
  68. "M 5.1 - 34km SE of Tharyarwady, Burma". United States Geological Survey. March 13, 2017. สืบค้นเมื่อ March 15, 2017.
  69. Global Times/Xinhua (15 March 2017). "2 killed, 36 injured in Myanmar earthquake". Mizzima. สืบค้นเมื่อ 15 March 2017.
  70. "M 6.0 - 230km SSW of Mohean, India". United States Geological Survey. March 14, 2017. สืบค้นเมื่อ March 14, 2017.
  71. "M 6.0 - 70km N of Auki, Solomon Islands". United States Geological Survey. March 19, 2017. สืบค้นเมื่อ April 4, 2017.
  72. "M 5.6 - 1km SE of Banjar Mulung, Indonesia". United States Geological Survey. March 21, 2017. สืบค้นเมื่อ April 26, 2017.
  73. "Indonesia: four injured in Bali earthquake". Vietnam News Agency. March 23, 2017. สืบค้นเมื่อ March 27, 2017 – โดยทาง Vietnam Plus.
  74. "Earthquake 20170324-14". National Research Institute of Astronomy and Geophysic. March 24, 2017. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-03-30. สืบค้นเมื่อ March 29, 2017.
  75. "At least one dead, seven injured during building collapse in Cairo". Xinhua. March 26, 2017. สืบค้นเมื่อ March 27, 2017.
  76. "M 5.0 - 23km SW of Yuhu, China". United States Geological Survey. March 26, 2017. สืบค้นเมื่อ June 3, 2017.
  77. "M 6.2 - 63km W of Attu Station, Alaska". United States Geological Survey. March 27, 2017. สืบค้นเมื่อ March 27, 2017.
  78. "M 6.6 - 81km NNE of Ust'-Kamchatsk Staryy, Russia". United States Geological Survey. March 29, 2017. สืบค้นเมื่อ May 9, 2017.
  79. "M 5.7 - 78km WSW of Higuera de Zaragoza, Mexico". United States Geological Survey. March 29, 2017. สืบค้นเมื่อ March 30, 2017.
  80. "M 5.3 - 18km NE of Cerro Punta, Panama". United States Geological Survey. April 2, 2017. สืบค้นเมื่อ August 10, 2017.
  81. "Sismo de 5,3 en el oeste de Panamá en la frontera con Costa Rica" [5.3 earthquake in western Panama on the border with Costa Rica] (ภาษาสเปน). RT Spanish. April 3, 2017. สืบค้นเมื่อ April 3, 2017.
  82. "M 5.2 - 7km SSE of Stilfontein, South Africa". United States Geological Survey. April 3, 2017. สืบค้นเมื่อ June 3, 2017.
  83. "Krugersdorpers wake up to earth shaking event". Krugersdorp News. April 3, 2017. สืบค้นเมื่อ April 3, 2017.
  84. "M 6.5 - 132km WSW of Moijabana, Botswana". United States Geological Survey. April 3, 2017. สืบค้นเมื่อ April 26, 2017.
  85. "The Largest Earthquakes in Botswana". earthquaketrack.com. April 3, 2017. สืบค้นเมื่อ April 3, 2017.
  86. "A History of Botswana's Seismic Network". jstor.org. สืบค้นเมื่อ April 4, 2017.
  87. "36 MOIYABANA STUDENTS INJURED IN A STAMPEDE FOLLOWING AN EARTHQUAKE". GABZ FM. April 4, 2017. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-07-06. สืบค้นเมื่อ April 4, 2017.
  88. "M 5.1 - 5km SSW of Ilijan, Philippines". United States Geological Survey. April 4, 2017. สืบค้นเมื่อ May 16, 2017.
  89. "Series of aftershocks reported after 5.5 magnitude quake". Philippine Daily Inquirer. April 5, 2017. สืบค้นเมื่อ April 5, 2017.
  90. "M 6.1 - 61km NNW of Torbat-e Jam, Iran". United States Geological Survey. April 5, 2017. สืบค้นเมื่อ May 18, 2017.
  91. "Magnitude 6.1 quake strikes near Mashhad in northeastern Iran". Reuters. April 5, 2017. สืบค้นเมื่อ April 5, 2017.
  92. "2 Die in 6.1-Magnitude Quake Near Mashhad". Financial Tribune. April 6, 2017. สืบค้นเมื่อ April 6, 2017.
  93. "M 4.8 - 1km SW of Nafpaktos, Greece". United States Geological Survey. April 5, 2017. สืบค้นเมื่อ April 6, 2017.
  94. "4.5R Earthquake in Patras during Live TV Magazine VIDEO". Keep Talking Greece. April 5, 2017. สืบค้นเมื่อ April 6, 2017.
  95. "M 5.9 - 1km NNW of Mabini, Philippines". United States Geological Survey. April 17, 2017. สืบค้นเมื่อ May 16, 2017.
  96. "Three strong earthquakes hit Philippines". Deutsche Welle. April 8, 2017. สืบค้นเมื่อ April 8, 2017.
  97. Maricar Cinco (April 11, 2017). "Trauma counseling for quake victims". Philippine Daily Inquirer. สืบค้นเมื่อ April 11, 2017.
  98. "M 4.8 - 3km N of Soyapango, El Salvador". United States Geological Survey. April 10, 2017. สืบค้นเมื่อ August 10, 2017.
  99. "Updated: 5.1 quake kills one in El Salvador". Agence France-Presse. April 11, 2017. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-08-11. สืบค้นเมื่อ April 11, 2017 – โดยทาง The Nation.
  100. "M 5.8 - 8km N of Osias, Philippines". United States Geological Survey. April 12, 2017. สืบค้นเมื่อ April 29, 2017.
  101. Pamela Jay F. Orias (April 12, 2017). "1 injured, 500 homes damaged after magnitude 6 hits Lanao Sur". Sun.Star. สืบค้นเมื่อ April 16, 2017.
  102. "M 6.3 - 63km SE of San Pedro de Atacama, Chile". United States Geological Survey. April 15, 2017. สืบค้นเมื่อ July 22, 2017.
  103. "M 6.0 - 285km N of Ndoi Island, Fiji". United States Geological Survey. April 18, 2017. สืบค้นเมื่อ June 12, 2017.
  104. "M 6.0 - 37km W of Valparaiso, Chile". United States Geological Survey. April 23, 2017. สืบค้นเมื่อ August 10, 2017.
  105. "M 6.9 - 40km W of Valparaiso, Chile". United States Geological Survey. April 24, 2017. สืบค้นเมื่อ August 10, 2017.
  106. "Fuerte sismo: derrumbes en Colina y Huechuraba causaron alarma y daños menores - LA TERCERA". La Tercera (ภาษาสเปนแบบยุโรป). April 25, 2017. สืบค้นเมื่อ April 25, 2017.
  107. "M 6.9 - 31km SW of Burias, Philippines". United States Geological Survey. April 29, 2017. สืบค้นเมื่อ August 10, 2017.
  108. "Sitrep No.02 re Magnitude 7.2 Earthquake in Sarangani, Davao Occidental" (PDF). Reliefweb. April 30, 2017. สืบค้นเมื่อ April 30, 2017.
  109. "M 6.2 - 88km WNW of Skagway, Alaska". United States Geological Survey. May 1, 2017. สืบค้นเมื่อ August 10, 2017.
  110. "M 6.3 - 88km WNW of Skagway, Alaska". United States Geological Survey. May 1, 2017. สืบค้นเมื่อ May 2, 2017.
  111. "M 5.1 - 65km N of Torbat-e Jam, Iran". United States Geological Survey. May 2, 2017. สืบค้นเมื่อ June 21, 2017.
  112. Fatih Karimov (May 3, 2017). "Earthquake leaves 2 injured in northeast Iran". Trend News Agency. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-08-11. สืบค้นเมื่อ May 3, 2017.
  113. "M 6.0 - 29km NNW of Karakenja, Tajikistan". United States Geological Survey. May 3, 2017. สืบค้นเมื่อ June 12, 2017.
  114. "Tajik authorities say earthquake on border with Kyrgyzstan damaged houses". AKIpress. May 3, 2017. สืบค้นเมื่อ May 3, 2017.
  115. "Earthquake aftermath: More than 100 sheep killed, buildings damaged". AKIpress. May 4, 2017. สืบค้นเมื่อ May 4, 2017.
  116. "Moderate earthquake hits Kyrgyzstan". Xinhua. May 3, 2017. สืบค้นเมื่อ May 3, 2017.
  117. "M 6.2 - 34km WSW of Tanaga Volcano, Alaska". United States Geological Survey. May 8, 2017. สืบค้นเมื่อ August 10, 2017.
  118. "M 6.0 - 111km ESE of Hirara, Japan". United States Geological Survey. May 9, 2017. สืบค้นเมื่อ June 12, 2017.
  119. "M 6.5 - 95km ENE of Visokoi Island, South Georgia and the South Sandwich Islands". United States Geological Survey. May 10, 2017. สืบค้นเมื่อ August 10, 2017.
  120. "M 5.1 - 16km ESE of Tel'mankend, Azerbaijan". United States Geological Survey. May 11, 2017. สืบค้นเมื่อ June 21, 2017.
  121. "Quake Injures 20 in Northwestern Iran". Tasnim News Agency. May 12, 2017. สืบค้นเมื่อ May 12, 2017.
  122. "M 5.1 - 13km NNE of Askale, Turkey". United States Geological Survey. May 11, 2017. สืบค้นเมื่อ May 12, 2017.
  123. "M 6.2 - 78km SSW of Acajutla, El Salvador". United States Geological Survey. May 12, 2017. สืบค้นเมื่อ August 10, 2017.
  124. "M 5.6 - 34km NNW of Bojnurd, Iran". United States Geological Survey. May 13, 2017. สืบค้นเมื่อ July 22, 2017.
  125. "Three dead in Iran earthquake". May 14, 2017. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-05-18. สืบค้นเมื่อ July 22, 2017.
  126. "M 6.2 - 39km ENE of Rabaul, Papua New Guinea". United States Geological Survey. May 15, 2017. สืบค้นเมื่อ May 15, 2017.
  127. "M 5.6 - 41km E of Papayal, Peru". United States Geological Survey. June 5, 2017. สืบค้นเมื่อ June 27, 2017.
  128. "M 5.6 - 41km E of Papayal, Peru". United States Geological Survey. June 5, 2017. สืบค้นเมื่อ June 27, 2017.
  129. "M 6.3 - 5km S of Plomarion, Greece". United States Geological Survey. June 12, 2017. สืบค้นเมื่อ July 25, 2017.
  130. "M 6.3 - 5km S of Plomarion, Greece". United States Geological Survey. June 12, 2017. สืบค้นเมื่อ July 25, 2017.
  131. "Greek island picks up the pieces after 6.3-magnitude quake". Agence France-Presse. June 14, 2017. สืบค้นเมื่อ June 14, 2017 – โดยทาง Daily Times (Pakistan).
  132. Armand Vervaeck (June 12, 2017). "Damaging earthquake close to the coast of Lesbos, Greece / Turkey - June 12, 2017". Earthquake-Report.com. สืบค้นเมื่อ June 12, 2017.[ลิงก์เสีย]
  133. "Quake kills woman, guts houses on Greek island of Lesbos". Associated Press. June 12, 2017. สืบค้นเมื่อ June 12, 2017.
  134. "M 6.9 - 3km WNW of Malacatan, Guatemala". United States Geological Survey. June 14, 2017. สืบค้นเมื่อ August 10, 2017.
  135. "5 dead in magnitude 6.9 earthquake in western Guatemala". Yahoo! News via AFP. 2017-06-14. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-06-15. สืบค้นเมื่อ 2017-06-15.
  136. Vervaeck, Armand (2017-06-14). "An earthquake in the border area of Guatemala and Mexico injures at least 14 people, 1 killed - June 14, 2017". Earthquake-Report.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-06-18. สืบค้นเมื่อ 2017-06-14.
  137. "Suman 11 lesionados por sismo en Chiapas". El Universal (ภาษาสเปน). สืบค้นเมื่อ 2017-06-15.
  138. "M 6.0 - 129km NE of L'Esperance Rock, New Zealand". United States Geological Survey. June 15, 2017. สืบค้นเมื่อ August 10, 2017.
  139. "M 6.1 - South of the Fiji Islands". United States Geological Survey. June 17, 2017. สืบค้นเมื่อ June 17, 2017.
  140. "M 6.8 - 28km SW of Puerto San Jose, Guatemala". United States Geological Survey. June 22, 2017. สืบค้นเมื่อ August 10, 2017.
  141. "Temblor en Guatemala: sismo deja daños en Sacatepéquez, Totonicapán y Suchitepéquez" [Guatemala: Earthquake causes damage to emblematic buildings in Antigua]. Prensa Libre (ภาษาสเปน). June 22, 2017. สืบค้นเมื่อ June 23, 2017.
  142. "[Fotos] Sismo causa daños en viviendas de Antigua Guatemala" [[Photos] Earthquake causes damage to housing in Antigua Guatemala]. Diario1 (ภาษาสเปน). June 22, 2017. สืบค้นเมื่อ June 23, 2017.
  143. "6.8-magnitude quake hits Guatemala, second in eight days: USGS". Agence France-Presse. June 23, 2017. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-12-15. สืบค้นเมื่อ June 23, 2017 – โดยทาง The Nation (Thailand).
  144. "M 5.8 - 60km SE of Coracora, Peru". United States Geological Survey. June 28, 2017. สืบค้นเมื่อ August 10, 2017.
  145. Jonathan Bárcena (June 25, 2017). "Sismo hizo temblar a Caravelí" [Earthquake made Caravelí tremble]. La Republica (ภาษาสเปน). สืบค้นเมื่อ June 28, 2017.
  146. "M 5.2 - 35km W of Ina, Japan". United States Geological Survey. June 25, 2017. สืบค้นเมื่อ August 10, 2017.
  147. "Strong earthquake injures two, knocks off roof tiles in Japan". Hindustan Times. June 25, 2017. สืบค้นเมื่อ June 25, 2017.
  148. "M 6.0 - 198km W of Pangai, Tonga". United States Geological Survey. June 25, 2017. สืบค้นเมื่อ August 10, 2017.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]