แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559ตั้งอยู่ในโลก
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559
จุดศูนย์กลางแผ่นดินไหวโดยประมาณใน พ.ศ. 2559
แผ่นดินไหว
รุนแรงที่สุด
7.8 Mw
อินโดนีเซีย อินโดนีเซีย
เอกวาดอร์ เอกวาดอร์
นิวซีแลนด์ นิวซีแลนด์
ผู้เสียชีวิตมากที่สุด673 คน
7.8 Mw เอกวาดอร์ เอกวาดอร์
ผู้เสียชีวิตทั้งหมด1,213 คน
จำนวนตามแมกนิจูด
9.0+0
8.0−8.90
7.0−7.914
6.0−6.9109
5.0−5.91,282
4.0−4.911,294

แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559 แสดงเนื้อหาเฉพาะแผ่นดินไหวขนาด 6 แมกนิจูดขึ้นไป และแผ่นดินไหวที่มีขนาดต่ำกว่า 6 ที่สร้างความเสียหาย มีผู้บาดเจ็บเสียชีวิต หรือมีความโดดเด่นอื่น วันเวลาทั้งหมดแสดงในรูปแบบเวลาสากลเชิงพิกัด (UTC) ความรุนแรงสูงสุดแสดงตามมาตราเมร์กัลลี และใช้แหล่งที่มาจากฐานข้อมูล "ShakeMap" ของสำนักงานสำรวจธรณีวิทยาแห่งสหรัฐอเมริกา (USGS)

ตารางเทียบรายปี[แก้]

ณ วันที่ 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559
จำนวนของแผ่นดินไหวทั่วโลกระหว่าง พ.ศ. 2549–2559[1]
แมกนิจูด 2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559
8.0–9.9 2 4 0 1 1 1 2 2 1 1 0
7.0–7.9 9 14 12 16 21 19 15 17 11 18 17
6.0–6.9 142 178 168 144 151 204 129 125 140 124 126
5.0–5.9 1,712 2,074 1,768 1,896 1,963 2,271 1,412 1,402 1,475 1,413 1,507
4.0–4.9 12,838 12,080 12,292 6,805 10,164 13,303 10,990 9,795 13,494 13,239 12,771
Total 14,703 14,350 14,240 8,862 12,300 15,798 12,548 11,341 15,121 14,795 14,421

สังเกตว่าจำนวนแผ่นดินไหวที่ตรวจพบเพิ่มขึ้นนั้นไม่จำเป็นต้องแสดงว่ามีแผ่นดินไหวเพิ่มขึ้นโดยตัวเอง การเพิ่มขึ้นของประชากร การกระจายถิ่นที่อยู่และความก้าวหน้าของเทคโนโลยีตรวจจับแผ่นดินไหวล้วนเป็นปัจจัยให้มีการบันทึกจำนวนแผ่นดินไหวเพิ่มขึ้นตามกาลทั้งสิ้น ตำนานแผ่นดินไหว เก็บถาวร 2016-03-19 ที่ เวย์แบ็กแมชชีนของสำนักสำรวจธรณีวิทยาสหรัฐอเมริกามีสารสนเทศเพิ่มเติม

สำหรับประเทศไทย สามารถดูกราฟรายงานแผ่นดินไหวอัตโนมัติได้ที่ สถานีตรวจแผ่นดินไหวอัตโนมัติ สำนักเฝ้าระวังแผ่นดินไหว กรมอุตุนิยมวิทยา และรายงานแผ่นดินไหวภายในประเทศได้ที่ รายงานแผ่นดินไหวภายในประเทศและใกล้เคียง

สำหรับวันที่แน่นอนและการเกิดแผ่นดินไหวสามารถเข้าชมได้ที่ แผนที่แสดงแผ่นดินไหวแบบเรียลไทม์

เรียงตามจำนวนผู้เสียชีวิต[แก้]

ที่ จำนวนผู้เสียชีวิต แมกนิจูด สถานที่ MMI ความลึก (กม.) วันที่
1 673 7.8 เอกวาดอร์ เอกวาดอร์ VIII 20.6 16 เมษายน
2 299 6.2 อิตาลี อิตาลี IX 5.1 24 สิงหาคม
3 117 6.4 สาธารณรัฐจีน ไต้หวัน VII 23.0 6 กุมภาพันธ์
4 104 6.5 อินโดนีเซีย อินโดนีเซีย IX 13.0 6 ธันวาคม
5 41 7.0 ญี่ปุ่น ญี่ปุ่น IX 10.0 15 เมษายน
6 23 5.9 แทนซาเนีย แทนซาเนีย VII 40.0 10 กันยายน
7 11 6.7 อินเดีย อินเดีย VII 55.0 3 มกราคม
  • หมายเหตุ: แสดงเฉพาะแผ่นดินไหวที่มีผู้เสียชีวิตตั้งแต่ 10 คนขึ้นไป

เรียงตามแมกนิจูด[แก้]

ที่ แมกนิจูด จำนวนผู้เสียชีวิต สถานที่ MMI ความลึก (กม.) วันที่
1 7.9 0  ปาปัวนิวกินี VIII 103.2 17 ธันวาคม
2 7.8 673 เอกวาดอร์ เอกวาดอร์ VIII 20.6 16 เมษายน
2 7.8 0 อินโดนีเซีย อินโดนีเซีย III 24.0 2 มีนาคม
2 7.8 2 นิวซีแลนด์ นิวซีแลนด์ IX 23.0 13 พฤศจิกายน
2 7.8 1  หมู่เกาะโซโลมอน VIII 41.0 8 ธันวาคม
6 7.7 0  หมู่เกาะนอร์เทิร์นมาเรียนา VI 212.4 29 กรกฎาคม
7 7.6 0 ชิลี ชิลี VIII 35.2 25 ธันวาคม
8 7.4 0  เกาะเซาท์จอร์เจียและหมู่เกาะเซาท์แซนด์วิช I 10.0 19 สิงหาคม
9 7.2 0  รัสเซีย VI 163.2 30 มกราคม
9 7.2 0  เกาะเซาท์จอร์เจียและหมู่เกาะเซาท์แซนด์วิช VI 72.7 28 พฤษภาคม
9 7.2 0  นิวแคลิโดเนีย I 9.9 12 สิงหาคม
12 7.1 0 สหรัฐ สหรัฐอเมริกา VII 125.6 24 มกราคม
12 7.1 0  เกาะอัสเซนชัน I 10.0 29 สิงหาคม
14 7.0 41 ญี่ปุ่น ญี่ปุ่น IX 10.0 15 เมษายน
14 7.0 0  วานูวาตู VII 27.2 28 เมษายน
14 7.0 0  นิวซีแลนด์ VI 19.0 1 กันยายน
14 7.0 0  เอลซัลวาดอร์ V 10.3 24 พฤศจิกายน
  • หมายเหตุ: แสดงเฉพาะแผ่นดินไหวที่มีขนาดตั้งแต่ 7.0 แมกนิจูดขึ้นไป

เรียงตามเดือน[แก้]

มกราคม[แก้]

มกราคม
แผ่นดินไหว
รุนแรงที่สุด
7.2 Mw  รัสเซีย
ผู้เสียชีวิตมากที่สุด6.7 Mw อินเดีย อินเดีย
11 คน
ผู้เสียชีวิตทั้งหมด12 คน
จำนวนตามแมกนิจูด
8.0−8.90
7.0−7.92
6.0−6.911
5.0−5.9115
4.0−4.9657
  • เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.3 แมกนิจูด ในสันเขาอินเดีย-แอนตาร์กติกตะวันตก เมื่อวันที่ 1 มกราคม ที่ความลึก 10.0 km (6.2 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ I (ไม่รู้สึก)[2]
  • อินเดีย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.7 แมกนิจูด ในประเทศอินเดีย ห่างจากเมืองอิมผาล ในรัฐรัฐมณีปุระ ไปทางตะวันตก 30 km (19 mi) เมื่อวันที่ 3 มกราคม ที่ความลึก 55.0 km (34.2 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ VII (แรงมาก)[3] มีผู้เสียชีวิตอย่างน้อย 11 ราย (6 คนในอินเดีย และ 5 คนในบังคลาเทศ) มีผู้ได้รับบาดเจ็บอื่น ๆ อีก 200 คน และอาคารขนาดใหญ่ได้รับผลกระทบ[4]
  • เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.0 แมกนิจูด ในสันเขาแปซิฟิก-แอนตาร์กติก เมื่อวันที่ 5 มกราคม ที่ความลึก 10.0 km (6.2 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ I (ไม่รู้สึก)[5]
  • อินโดนีเซีย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.5 แมกนิจูด ในอินโดนีเซีย ห่างจากหมู่เกาะตาเลาด์ จังหวัดนอร์ทซูลาเวซี ไปทางตะวันออก 8 km (5.0 mi) เมื่อวันที่ 11 มกราคม ที่ความลึก 13.0 km (8.1 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ VIII (อย่างรุนแรง)[6]
  • ญี่ปุ่น เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.2 แมกนิจูด ในญี่ปุ่น ห่างจากรุโมะอิ บนเกาะฮกไกโดะ ไปทางตะวันตกเฉียงเหนือ 74 km (46 mi) เมื่อวันที่ 11 มกราคม ที่ความลึก 238.8 km (148.4 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ IV (อ่อน)[7]
  • โบลิเวีย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.1 แมกนิจูด ในโบลิเวีย ห่างจากคารากัว ไปทางตะวันตกเฉียงเหนือกึ่งตะวันตก 12 km (7.5 mi) เมื่อวันที่ 14 มกราคม ที่ความลึก 582.6 km (362.0 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ II (เบา)[8]
  • ญี่ปุ่น เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.7 แมกนิจูด ห่างจากชายฝั่งของชิซุไน บนเกาะฮกไกโด ญี่ปุ่น ไปทางตะวันออกเฉียงใต้ 52 km (32 mi) เมื่อวันที่ 14 มกราคม ที่ความลึก 46.0 km (28.6 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ VII (แรงมาก)[9]
  • อินโดนีเซีย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 5.6 แมกนิจูด ในอินโดนีเซีย ห่างจากนัมเลอา จังหวัดมาลูกู ไปทางตะวันออกเฉียงใต้กึ่งใต้ 69 km (43 mi) เมื่อวันที่ 16 มกราคม ที่ความลึก 4.2 km (2.6 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ VII (แรงมาก)[10] คนแปดคนได้รับบาดเจ็บ และบ้านเรือนประมาณ 120 หลังได้รับความเสียหายในสองหมู่บ้านบนเกาะอัมเบเลา[11]
  • จีน เกิดแผ่นดินไหวขนาด 5.9 แมกนิจูด ในจีน ห่างจากฮงตู มณฑลชิงไห่ ไปทางตะวันออกเฉียงใต้กึ่งตะวันออก 70 km (43 mi) เมื่อวันที่ 20 มกราคม ที่ความลึก 9.0 km (5.6 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ VII (แรงมาก)[12] คนเก้าคนได้รับบาดเจ็บ และบ้านเรือน 600 หลังได้รับความเสียหาย[13]
  • เม็กซิโก เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.6 แมกนิจูด ห่างจากชายฝั่งโตมัตแลนด์ รัฐฮาลิสโก เม็กซิโก ไปทางตะวันตกเฉียงใต้ 215 km (134 mi) เมื่อวันที่ 21 มกราคม ที่ความลึก 10.0 km (6.2 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ IV (อ่อน)[14]
  • สหรัฐ เกิดแผ่นดินไหวขนาด 7.1 แมกนิจูด ในสหรัฐอเมริกา ห่างจากโอลด์อิลิแอมนา รัฐอะแลสกา ไปทางตะวันตก 86 km (53 mi) เมื่อวันที่ 24 มกราคม ที่ความลึก 129.0 km (80.2 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ VII (แรงมาก)[15] บ้านสี่หลังถูกทำลายในเคไน รัฐอะแลสกา หลังจากเกิดแก๊สรั่ว[16]
  • โมร็อกโก เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.3 แมกนิจูด ห่างจากชายฝั่งอัลโฮเคมา โมร็อกโก ไปทางตะวันออกเฉียงเหนือกึ่งเหนือ 50 km (31 mi) เมื่อวันที่ 25 มกราคม ที่ความลึก 12.0 km (7.5 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ V (ปานกลาง)[17] คนสิบห้าคนได้รับบาดเจ็บและอาคารบางหลังได้รับความเสียหาย และยังมีไฟฟ้าดับในภูมิภาคด้วย[18]
  • ปาปัวนิวกินี เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.1 แมกนิจูด ห่างจากชายฝั่งตารอน ปาปัวนิวกินี ไปทางตะวันออกเฉียงใต้กึ่งใต้ 94 km (58 mi) เมื่อวันที่ 26 มกราคม ที่ความลึก 26.0 km (16.2 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ IV (เบา)[19]
  • รัสเซีย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 7.2 แมกนิจูด ในรัสเซีย ห่างจากเยลิโซโว บนคาบสมุทรคัมชัตคา ไปทางเหนือ 88 km (55 mi) เมื่อวันที่ 30 มกราคม ที่ความลึก 177.0 km (110.0 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ VI (แรง)[20]
  • แอนตาร์กติกา เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.1 แมกนิจูด ห่างจากชายฝั่งหมู่เกาะบัลเลนี แอนตาร์กติกา ไปทางตะวันออกเฉียงเหนือ 473 km (294 mi) เมื่อวันที่ 31 มกราคม ที่ความลึก 10.0 km (6.2 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ I (ไม่รู้สึก)[21]

กุมภาพันธ์[แก้]

กุมภาพันธ์
แผ่นดินไหว
รุนแรงที่สุด
6.4 Mw สาธารณรัฐจีน ไต้หวัน
6.4 Mw  ปาปัวนิวกินี
ผู้เสียชีวิตมากที่สุด6.4 Mw สาธารณรัฐจีน ไต้หวัน
117 คน
ผู้เสียชีวิตทั้งหมด117 คน
จำนวนตามแมกนิจูด
8.0−8.90
7.0−7.90
6.0−6.910
5.0−5.969
4.0−4.9229
  • นิวซีแลนด์ เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.2 แมกนิจูด ในชายฝั่งของนิวซีแลนด์ ห่างจากเลสเปแรนซ์ร็อค ไปทางตะวันตกเฉียงเหนือ 124 km (77 mi) เมื่อวันที่ 1 กุมภาพันธ์ ที่ความลึก 391.0 km (243.0 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ III (อ่อน)[22]
  • สาธารณรัฐจีน เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.4 แมกนิจูด ในไต้หวัน ห่างจากอวี่จิง ไปทางตะวันออกเฉียงใต้ 24 km (15 mi) เมื่อวันที่ 6 กุมภาพันธ์ ที่ความลึก 23.0 km (14.3 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ VII (แรงมาก)[23] อาคารจำนวนมาก รวมถึงอาคารที่อยู่อาศัยเกิดการทรุดตัวลงในไถหนัน[24] มีผู้เสียชีวิต 117 คน[25] และมีผู้ได้รับบาดเจ็บ 550 คน[26]
  • ปาปัวนิวกินี เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.4 แมกนิจูด ในชายฝั่งของปาปัวนิวกินี ห่างจากปันกูนา ไปทางตะวันตกเฉียงใต้กึ่งตะวันตก 88 km (55 mi) เมื่อวันที่ 8 กุมภาพันธ์ ที่ความลึก 29.0 km (18.0 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ V (ปานกลาง)[27]
  • ชิลี เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.3 แมกนิจูด ในชิลี ห่างจากโอวาลเย ไปทางตะวันตก 36 km (22 mi) เมื่อวันที่ 10 กุมภาพันธ์ ที่ความลึก 29.0 km (18.0 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ VII (แรงมาก)[28]
  • อินโดนีเซีย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.3 แมกนิจูด ในอินโดนีเซีย ห่างจากโกเมอร์ดา จังหวัดอีสนูซาเต็งการา ไปทางตะวันตก 0 km (0 mi) เมื่อวันที่ 12 กุมภาพันธ์ ที่ความลึก 28.0 km (17.4 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ VI (แรง)[29]
  • นิวซีแลนด์ เกิดแผ่นดินไหวขนาด 5.8 แมกนิจูด ในนิวซีแลนด์ ห่างจากไครสต์เชิร์ช ไปทางตะวันออกเฉียงเหนือกึ่งตะวันออก 11 km (6.8 mi) เมื่อวันที่ 14 กุมภาพันธ์ ที่ความลึก 8.2 km (5.1 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ VIII (อย่างรุนแรง)[30] มีรายงานความเสียหายเล็กน้อยและบางส่วนได้รับความเสียหายจากการถูกทำให้เหลว บางส่วนของก็อดเลย์เฮดและหน้าผาอื่นเกิดการทรุดตัวลง[31]
  • ตองงา เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.0 แมกนิจูด ในชายฝั่งของตองงา ห่างจากนูกูอาโลฟา ไปทางตะวันตกเฉียงเหนือกึ่งตะวันตก 32 km (20 mi) เมื่อวันที่ 15 กุมภาพันธ์ ที่ความลึก 10.0 km (6.2 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ VI (แรง)[32]
  • เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.1 แมกนิจูด ในจุดธารผุดแปซิฟิกตะวันออกตอนใต้ เมื่อวันที่ 17 กุมภาพันธ์ ที่ความลึก 13.0 km (8.1 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ I (ไม่รู้สึก)[33]
  • อินโดนีเซีย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.0 แมกนิจูด ในอินโดนีเซีย ห่างจากโตเบโล ไปทางตะวันออกเฉียงใต้ 151 km (94 mi) เมื่อวันที่ 17 กุมภาพันธ์ ที่ความลึก 10.0 km (6.2 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ VI (แรง)[34]
  • ชิลี เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.0 แมกนิจูด ในชิลี ห่างจากโกกิมโบ ไปทางตะวันตกเฉียงใต้กึ่งตะวันตก 105 km (65 mi) เมื่อวันที่ 22 กุมภาพันธ์ ที่ความลึก 12.0 km (7.5 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ IV (เบา)[35]
  • เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.1 แมกนิจูด ในสันเขาแปซิฟิกตะวันตก-แอตแลนติก เมื่อวันที่ 27 กุมภาพันธ์ ที่ความลึก 10.0 km (6.2 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ I (ไม่รู้สึก)[36]

มีนาคม[แก้]

มีนาคม
แผ่นดินไหว
รุนแรงที่สุด
7.8 Mw อินโดนีเซีย อินโดนีเซีย
จำนวนตามแมกนิจูด
8.0−8.90
7.0−7.91
6.0−6.94
5.0−5.975
4.0−4.9264
  • อินโดนีเซีย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 7.8 แมกนิจูด ในชายฝั่งของอินโดนีเซีย ห่างจากมัวราซิเบรุต หมู่เกาะมันตาไว ไปทางตะวันตกเฉียงใต้ 659 km (409 mi) เมื่อวันที่ 2 มีนาคม ที่ความลึก 24.0 km (14.9 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ III (อ่อน)[37]
  • สหรัฐ เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.3 แมกนิจูด ในชายฝั่งของสหรัฐอเมริกา ห่างจากแอตกา รัฐอะแลสกา ไปทางใต้ 71 km (44 mi) เมื่อวันที่ 12 มีนาคม ที่ความลึก 19.0 km (11.8 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ IV (เบา)[38]
  • สหรัฐ เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.0 แมกนิจูด ในชายฝั่งของสหรัฐอเมริกา ห่างจากแอตกา รัฐอะแลสกา ไปทางใต้ 76 km (47 mi) เมื่อวันที่ 19 มีนาคม ที่ความลึก 17.0 km (10.6 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ IV (เบา)[39]
  • แอนทีกาและบาร์บิวดา เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.0 แมกนิจูด ในชายฝั่งของแอนติกาและบาร์บูดา ห่างจากโคดริงตัน ไปทางตะวันออกเฉียงเหนือกึ่งตะวันออก 124 km (77 mi) เมื่อวันที่ 19 มีนาคม ที่ความลึก 32.0 km (19.9 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ IV (เบา)[40]
  • รัสเซีย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.4 แมกนิจูด ในชายฝั่งของรัสเซีย ห่างจากอุซกัมแชต ไปทางใต้ 211 km (131 mi) เมื่อวันที่ 20 มีนาคม ที่ความลึก 31.3 km (19.4 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ IV (เบา)[41]

เมษายน[แก้]

เมษายน
แผ่นดินไหว
รุนแรงที่สุด
7.8 Mw เอกวาดอร์ เอกวาดอร์
ผู้เสียชีวิตมากที่สุด7.8 Mw เอกวาดอร์ เอกวาดอร์
673 คน
ผู้เสียชีวิตทั้งหมด732 คน
จำนวนตามแมกนิจูด
8.0−8.90
7.0−7.92
6.0−6.915
5.0−5.9103
4.0−4.9305
  • ญี่ปุ่น เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.0 แมกนิจูด ในชายฝั่งของญี่ปุ่น ห่างจากชินงู จังหวัดวะกะยะมะ ไปทางตะวันออกเฉียงใต้ 56 km (35 mi) เมื่อวันที่ 1 เมษายน ที่ความลึก 10.0 km (6.2 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ IV (เบา)[42]
  • ปาปัวนิวกินี เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.2 แมกนิจูด ในปาปัวนิวกินี ห่างจากอังโกรัม ไปทางตะวันออกเฉียงเหนือ 123 km (76 mi) เมื่อวันที่ 1 เมษายน ที่ความลึก 5.4 km (3.4 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ V (ปานกลาง)[43]
  • สหรัฐ เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.2 แมกนิจูด ในสหรัฐอเมริกา ห่างจากชิกนิกเลก รัฐอลาสก้า ไปทางตะวันออกเฉียงเหนือกึ่งเหนือ 100 km (62 mi) เมื่อวันที่ 2 เมษายน ที่ความลึก 17.9 km (11.1 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ VI (แรง)[44]
  • วานูวาตู เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.9 แมกนิจูด ในวานูอาตู ห่างจากพอร์ตออลรี ไปทางตะวันตกเฉียงเหนือกึ่งเหนือ 81 km (50 mi) เมื่อวันที่ 3 เมษายน ที่ความลึก 35.0 km (21.7 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ VII (แรงมาก)[45]
  • วานูวาตู เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.7 แมกนิจูด ในวานูอาตู ห่างจากซูลา ไปทางตะวันตกเฉียงใต้กึ่งตะวันตก 105 km (65 mi) เมื่อวันที่ 6 เมษายน ที่ความลึก 24.0 km (14.9 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ V (ปานกลาง)[46] แผ่นดินไหวครั้งนี้เป็นแผ่นดินไหวตามของแผ่นดินไหว 6.9
  • อินโดนีเซีย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.0 แมกนิจูด ในชายฝั่งของอินโดนีเซีย ห่างจากบูนีซารี ไปทางตะวันตกเฉีนงใต้กึ่งใต้ 68 km (42 mi) เมื่อวันที่ 6 เมษายน ที่ความลึก 35.4 km (22.0 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ IV (เบา)[47]
  • วานูวาตู เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.7 แมกนิจูด ในวานูอาตู ห่างจากซูลา ไปทางตะวันตก 106 km (66 mi) เมื่อวันที่ 7 เมษายน ที่ความลึก 26.8 km (16.7 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ V (ปานกลาง)[48] โดยครั้งนี้เป็นแผ่นดินไหวตามของแผ่นดินไหว 6.9 ครั้งก่อน
  • เนปาล เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.1 แมกนิจูด ในเนปาล ห่างจากปาฏัน ไปทางตะวันตกเฉียงใต้กึ่งใต้ 9 km (5.6 mi) เมื่อวันที่ 9 เมษายน ที่ความลึก 4.1 km (2.5 mi)[49] มีผู้ได้รับบาดเจ็บจากเหตุแผ่นดินไหวอย่างน้อย 3 คน[50]
  • อัฟกานิสถาน เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.6 แมกนิจูด ในอัฟกานิสถาน ห่างจากอัชคาชาม จังหวัดบาดัคชาน ไปทางตะวันตกเฉียงใต้กึ่งตะวันตก 39 km (24 mi) เมื่อวันที่ 10 เมษายน ที่ความลึก 210.4 km (130.7 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ IV (เบา)[51] มีผู้เสียชีวิตหกคน และผู้ได้รับบาดเจ็บสี่สิบหกคนในปากีสถาน[52]
  • ประเทศพม่า เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.9 แมกนิจูด ในพม่า ห่างจากเมียวลิก ไปทางตะวันออกเฉียงใต้ 74 km (46 mi) เมื่อวันที่ 13 เมษายน ที่ความลึก 134.8 km (83.8 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ VI (แรง)[53] มีผู้เสียชีวิต 2 คน และมีผู้บาดเจ็บ 70 คนในรัฐอัสสัม อินเดีย[54] และมีผู้ได้รับบาดเจ็บในจิตตะกอง บังกลาเทศ 50 คน[55]
  • วานูวาตู เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.0 แมกนิจูด ในวานูอาตู ห่างจากพอร์ตออลรี ไปทางตะวันตกเฉียงเหนือ 86 km (53 mi) เมื่อวันที่ 14 เมษายน ที่ความลึก 10.0 km (6.2 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ VI (แรง)[56] โดยครั้งนี้เป็นแผ่นดินไหวตามของแผ่นดินไหว 6.9 ครั้งก่อน
  • ญี่ปุ่น เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.2 แมกนิจูด ในญี่ปุ่น ห่างจากอุเอะกิ จังหวัดคุมะโมะโตะ ไปทางตะวันตกเฉียงใต้ 7 km (4.3 mi) เมื่อวันที่ 14 เมษายน ที่ความลึก 10.0 km (6.2 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ VIII (อย่างรุนแรง)[57] มีผู้เสียชีวิต 9 คน และอีก 800 คนได้รับบาดเจ็บ[58][59] บ้านเรือนอย่างน้อย 20 หลังรวมทั้งปราสาทคุมะโมะโตะเกิดการทรุดตัว ขณะที่กว่า 24,000 คน ถูกบังคับให้ไปอาศัยอยู่ในสถานที่อพยพ[60][61] แผ่นดินไหวครั้งนี้เป็นแผ่นดินไหวนำของแผ่นดินไหว 7.0
  • ญี่ปุ่น เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.0 แมกนิจูด ในญี่ปุ่น ห่างจากอุโตะ จังหวัดคุมะโมะโตะ ไปทางตะวันออก 5 km (3.1 mi) เมื่อวันที่ 14 เมษายน ที่ความลึก 10.0 km (6.2 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ VII (แรงมาก)[62] แผ่นดินไหวครั้งนี้เป็นแผ่นดินไหวนำของแผ่นดินไหว 7.0
  • วานูวาตู เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.4 แมกนิจูด ในวานูอาตู ห่างจากพอร์ตออลรี ไปทางตะวันตกเฉียงเหนือ 95 km (59 mi) เมื่อวันที่ 14 เมษายน ที่ความลึก 16.0 km (9.9 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ VI (แรง)[63] โดยครั้งนี้เป็นแผ่นดินไหวตามของแผ่นดินไหว 6.9 ครั้งก่อน
  • ประเทศกัวเตมาลา เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.1 แมกนิจูด ในชายฝั่งของกัวเตมาลา ห่างจากชามเปรีโก ไปทางตะวันตกเฉียงใต้กึ่งใต้ 105 km (65 mi) เมื่อวันที่ 15 เมษายน ที่ความลึก 25.0 km (15.5 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ IV (เบา)[64]
  • ญี่ปุ่น เกิดแผ่นดินไหวขนาด 7.0 แมกนิจูด ในญี่ปุ่น ห่างจากเมืองคุมะโมะโตะ จังหวัดคุมะโมะโตะ ไปทางตะวันตกเฉียงใต้กึ่งตะวันตก 1 km (0.62 mi) เมื่อวันที่ 15 เมษายน ที่ความลึก 10.0 km (6.2 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ IX (ร้ายแรง)[65] มีผู้เสียชีวิต 32 คน และผู้ได้รับบาดเจ็บอีกประมาณ 1,000 คน บ้านเรือนหลายหลังถูกทำลายลง และเกิดสะพานทรุดตัวลงในเมืองอะโซะ[58]
  • เอกวาดอร์ เกิดแผ่นดินไหวขนาด 7.8 แมกนิจูด ในเอกวาดอร์ ห่างจากมุยสเน ไปทางตะวันออกเฉียงใต้กึ่งใต้ 27 km (17 mi) เมื่อวันที่ 16 เมษายน ที่ความลึก 19.2 km (11.9 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ VIII (อย่างรุนแรง)[66] มีผู้เสียชีวิต 655 คน ผู้สูญหาย 48 คน และผู้บาดเจ็บ 4,600 คน อาคาร 7,000 หลังถูกทำลายหรือได้รับความเสียหาย[67]
  • เอกวาดอร์ เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.2 แมกนิจูด ในเอกวาดอร์ ห่างจากมุยสเน ไปทางตะวันตกเฉียงเหนือกึ่งตะวันตก 19 km (12 mi) เมื่อวันที่ 20 เมษายน ที่ความลึก 14.8 km (9.2 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ VI (แรง)[68] แผ่นดินไหวครั้งนี้เป็นแผ่นดินไหวตามของแผ่นดินไหว 7.8
  • เอกวาดอร์ เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.0 แมกนิจูด ในเอกวาดอร์ ห่างจากมุยสเน ไปทางตะวันออกเฉียงเหนือกึ่งเหนือ 12 km (7.5 mi) เมื่อวันที่ 20 เมษายน ที่ความลึก 10.0 km (6.2 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ VI (แรง)[69] แผ่นดินไหวครั้งนี้เป็นแผ่นดินไหวตามของแผ่นดินไหว 7.8
  • เอกวาดอร์ เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.0 แมกนิจูด ในเอกวาดอร์ ห่างจากบาเยียเดการาเกซ ไปทางตะวันตกเฉียงเหนือกึ่งเหนือ 33 km (21 mi) เมื่อวันที่ 22 เมษายน ที่ความลึก 10.0 km (6.2 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ VI (แรง)[70] แผ่นดินไหวครั้งนี้เป็นแผ่นดินไหวตามของแผ่นดินไหว 7.8
  • เม็กซิโก เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.0 แมกนิจูด ในเม็กซิโก ห่างจากปอร์โตมาเดโร รัฐเชียปัส ไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้เฉตะวันตก 83 km (52 mi) เมื่อวันที่ 25 เมษายน ที่ความลึก 16.0 km (9.9 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ IV (เบา)[71]
  • เม็กซิโก เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.0 แมกนิจูด ในเม็กซิโก ห่างจากปอร์โตมาเดโร รัฐเชียปัส ไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้เฉตะวันตก 75 km (47 mi) เมื่อวันที่ 27 เมษายน ที่ความลึก 16.0 km (9.9 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ IV (เบา)[72]
  • วานูวาตู เกิดแผ่นดินไหวขนาด 7.0 แมกนิจูด ในวานูอาตู ห่างจากนอร์ซุป ไปทางตะวันออกเฉียงใต้ 1 km (0.62 mi) เมื่อวันที่ 28 เมษายน ที่ความลึก 27.2 km (16.9 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ VII (แรงมาก)[73]
  • เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.6 แมกนิจูด ในจุดธารผุดแปซิฟิกตะวันออกตอนเหนือ เมื่อวันที่ 29 เมษายน ที่ความลึก 10.0 km (6.2 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ I (ไม่รู้สึก)[74]
  • ฝรั่งเศส เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.6 แมกนิจูด ห่างจากเกาะกลีแปร์ตอน ดินแดนโพ้นทะเลในแปซิฟิกของฝรั่งเศส ไปทางตะวันออก 602 km (374 mi) เมื่อวันที่ 29 เมษายน ที่ความลึก 10.0 km (6.2 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ I (ไม่รู้สึก)[75]

พฤษภาคม[แก้]

พฤษภาคม
แผ่นดินไหว
รุนแรงที่สุด
7.2 Mw  เกาะเซาท์จอร์เจียและหมู่เกาะเซาท์แซนด์วิช
ผู้เสียชีวิตมากที่สุด6.9 Mw  เอกวาดอร์
1 คน
ผู้เสียชีวิตทั้งหมด1 คน
จำนวนตามแมกนิจูด
8.0−8.90
7.0−7.91
6.0−6.96
5.0−5.987
4.0−4.91,084
  • จีน เกิดแผ่นดินไหวขนาด 5.2 แมกนิจูด ในจีน ห่างจากหมู่บ้าน Gyamotang เขตปกครองตนเองทิเบต ไปทางตะวันตกเฉียงเหนือ 66 km (41 mi) เมื่อวันที่ 11 พฤษภาคม ที่ความลึก 8.0 km (5.0 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ V (ปานกลาง)[76] มีรายงานผู้บาดเจ็บ 60 ราย ในจำนวนนี้บาดเจ็บสาหัส 6 ราย บ้านพังรวมทั้งสะพานและถนนเสียหายจากดินถล่ม[77]
  • เอกวาดอร์ เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.7 แมกนิจูด ในเอกวาดอร์ ห่างจากมูอิสเน จังหวัดเอสเมรัลดัส ไปทางตะวันออกเฉียงใต้ 33 km (21 mi) เมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม ที่ความลึก 16.0 km (9.9 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ VII (แรงมาก)[78] มีรายงานไฟฟ้าดับในพื้นที่ใกล้จุดเหนือศูนย์กลาง[79] แผ่นดินไหวครั้งนี้ถือเป็นแผ่นดินไหวตามจากแผ่นดินไหวขนาด 7.8 เมื่อเดือนเมษายน
  • เอกวาดอร์ เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.9 แมกนิจูด ในเอกวาดอร์ ห่างจากโรซาซาราเต จังหวัดเอสเมรัลดัส ไปทางตะวันตกเฉียงเหนือ 24 km (15 mi) เมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม ที่ความลึก 29.9 km (18.6 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ VII (แรงมาก)[80] มีรายงานผู้เสียชีวิต 1 คนในเมืองโตซากวา[81] แผ่นดินไหวครั้งนี้ถือเป็นแผ่นดินไหวตามจากแผ่นดินไหวขนาด 7.8 เมื่อเดือนเมษายน
  • ออสเตรเลีย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.0 แมกนิจูด ในออสเตรเลีย ห่างจากวอร์เบอร์ตัน รัฐเวสเทิร์นออสเตรเลีย ไปทางตะวันออก 337 km (209 mi) เมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม ที่ความลึก 10.0 km (6.2 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ VIII (อย่างรุนแรง)[82]
  • ฟีจี เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.4 แมกนิจูด ในฟีจี ห่างจากเกาะโอโน-อี-เลา ไปทางตะวันออกเฉียงใต้กึ่งใต้ 18 km (11 mi) เมื่อวันที่ 27 พฤษภาคม ที่ความลึก 567.5 km (352.6 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ II (อ่อน)[83] แผ่นดินไหวครั้งนี้ถือเป็นแผ่นดินไหวนำของแผ่นดินไหวขนาด 6.9
  • ฟีจี เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.9 แมกนิจูด ในฟีจี ห่างจากเกาะโอโน-อี-เลา ไปทางตะวันออกเฉียงใต้กึ่งใต้ 155 km (96 mi) เมื่อวันที่ 28 พฤษภาคม ที่ความลึก 405.7 km (252.1 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ III (อ่อน)[84]
  • เกาะเซาท์จอร์เจียและหมู่เกาะเซาท์แซนด์วิช เกิดแผ่นดินไหวขนาด 7.2 แมกนิจูด นอกชายฝั่งเกาะเซาท์จอร์เจียและหมู่เกาะเซาท์แซนด์วิช ห่างจากเกาะวิโซโกย ไปทางตะวันออกเฉียงเหนือกึ่งเหนือ 53 km (33 mi) เมื่อวันที่ 28 พฤษภาคม ที่ความลึก 78.0 km (48.5 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ VI (แรง)[85]
  • แอลจีเรีย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 5.4 แมกนิจูด ในแอลจีเรีย ห่างจากเมืองลัคดาเรีย ไปทางตะวันตกเฉียงใต้กึ่งใต้ 16 km (9.9 mi) เมื่อวันที่ 29 พฤษภาคม ที่ความลึก 11.4 km (7.1 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ V (ปานกลาง)[86] มีรายงานบ้านและสิ่งปลูกสร้างพังทลายในพื้นที่ มีผู้บาดเจ็บ 28 ราย ในจำนวนนี้บาดเจ็บสาหัส 3 ราย[87]
  • สาธารณรัฐจีน เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.4 แมกนิจูด นอกชายฝั่งไต้หวัน ห่างจากนครจีหลง ไปทางตะวันออกเฉียงเหนือกึ่งตะวันออก 94 km (58 mi) เมื่อวันที่ 31 พฤษภาคม ที่ความลึก 246.4 km (153.1 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ IV (เบา)[88]

มิถุนายน[แก้]

มิถุนายน
แผ่นดินไหว
รุนแรงที่สุด
6.6 Mw  อินโดนีเซีย
ผู้เสียชีวิตมากที่สุด6.6 Mw  อินโดนีเซีย
1 คน
ผู้เสียชีวิตทั้งหมด1 คน
จำนวนตามแมกนิจูด
8.0−8.90
7.0−7.90
6.0−6.915
5.0−5.9111
4.0−4.91,149
  • อินโดนีเซีย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.6 แมกนิจูด ในอินโดนีเซีย ห่างจากเมืองซันไกเปนูห์ จังหวัดจัมบี ไปทางตะวันตก 79 km (49 mi) เมื่อวันที่ 1 มิถุนายน ที่ความลึก 50.0 km (31.1 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ VII (แรงมาก)[89] มีรายงานผู้เสียชีวิต 1 รายจากอาการหัวใจวายระหว่างเกิดแผ่นดินไหว มีผู้บาดเจ็บ 18 ราย และบ้านเรือนเสียหายมากกว่า 2,000 หลัง[90]
  • อินโดนีเซีย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.3 แมกนิจูด ในอินโดนีเซีย ห่างจากเมืองเลคซูลา จังหวัดมาลูกู ไปทางตะวันตกเฉียงใต้ 133 km (83 mi) เมื่อวันที่ 5 มิถุนายน ที่ความลึก 429.6 km (266.9 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ III (อ่อน)[91]
  • นิวซีแลนด์ เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.1 แมกนิจูด นอกชายฝั่งนิวซีแลนด์ ห่างจากเกาะราเอาล์ ไปทางใต้ 84 km (52 mi) เมื่อวันที่ 6 มิถุนายน ที่ความลึก 43.8 km (27.2 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ IV (เบา)[92]
  • เม็กซิโก เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.3 แมกนิจูด นอกชายฝั่งเม็กซิโก ห่างจากเมืองซานปาตริซิโอ รัฐฮาลิสโก ไปทางตะวันตกเฉียงใต้กึ่งใต้ 106 km (66 mi) เมื่อวันที่ 7 มิถุนายน ที่ความลึก 10.0 km (6.2 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ IV (เบา)[93]
  • อินโดนีเซีย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.3 แมกนิจูด ในอินโดนีเซีย ห่างจากเมืองโกตาเตร์นาเต จังหวัดมาลูกูเหนือ ไปทางตะวันตกเฉียงเหนือกึ่งตะวันตก 123 km (76 mi) เมื่อวันที่ 7 มิถุนายน ที่ความลึก 31.0 km (19.3 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ VI (แรง)[94]
  • อินโดนีเซีย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.1 แมกนิจูด นอกชายฝั่งอินโดนีเซีย ห่างจากหมู่บ้านกูตา จังหวัดนูซาเติงการาตะวันตก ไปทางใต้ 260 km (160 mi) เมื่อวันที่ 9 มิถุนายน ที่ความลึก 19.0 km (11.8 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ III (อ่อน)[95]
  • นิการากัว เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.1 แมกนิจูด ในนิการากัว ห่างจากเทศบาลปวยร์โตโมราซัน ไปทางตะวันออก 22 km (14 mi) เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน ที่ความลึก 10.0 km (6.2 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ VIII (อย่างรุนแรง)[96] มีรายงานบ้านเรือนเสียหายในเมืองชินันเดกา แต่ไม่มีผู้บาดเจ็บหรือเสียชีวิต[97]
  • หมู่เกาะโซโลมอน เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.2 แมกนิจูด ในหมู่เกาะโซโลมอน ห่างจากเมืองเอากิ ไปทางตะวันตกเฉียงเหนือกึ่งตะวันตก 18 km (11 mi) เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน ที่ความลึก 30.4 km (18.9 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ VI (แรง)[98]
  • วานูวาตู เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.2 แมกนิจูด ในวานูอาตู ห่างจากเมืองอิซันเกล ไปทางตะวันตกเฉียงเหนือกึ่งเหนือ 98 km (61 mi) เมื่อวันที่ 14 มิถุนายน ที่ความลึก 111.0 km (69.0 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ IV (เบา)[99]
  • วานูวาตู เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.3 แมกนิจูด นอกชายฝั่งวานูอาตู ห่างจากเมืองอิซันเกล ไปทางตะวันตกเฉียงใต้กึ่งใต้ 83 km (52 mi) เมื่อวันที่ 19 มิถุนายน ที่ความลึก 13.0 km (8.1 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ V (ปานกลาง)[100]
  • วานูวาตู เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.0 แมกนิจูด นอกชายฝั่งวานูอาตู ห่างจากเมืองอิซันเกล ไปทางตะวันตกเฉียงใต้ 90 km (56 mi) เมื่อวันที่ 20 มิถุนายน ที่ความลึก 15.0 km (9.3 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ IV (เบา)[101] แผ่นดินไหวครั้งนี้ถือเป็นแผ่นดินไหวตามจากแผ่นดินไหวขนาด 6.3 เมื่อวันที่ 19
  • เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.1 แมกนิจูด บริเวณเทือกเขากลางสมุทรแอตแลนติกเหนือ เมื่อวันที่ 21 มิถุนายน ที่ความลึก 10.0 km (6.2 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ I (ไม่รู้สึก)[102]
  • ปาปัวนิวกินี เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.3 แมกนิจูด ในปาปัวนิวกินี ห่างจากเมืองนามาตาไน จังหวัดนิวไอร์แลนด์ ไปทางตะวันตกเฉียงเหนือกึ่งตะวันตก 67 km (42 mi) เมื่อวันที่ 21 มิถุนายน ที่ความลึก 354.0 km (220.0 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ III (อ่อน)[103]
  • คีร์กีซสถาน เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.4 แมกนิจูด ในคีร์กีซสถาน ห่างจากชุมชนสารี-ทัช จังหวัดออช ไปทางตะวันออกเฉียงใต้กึ่งใต้ 28 km (17 mi) เมื่อวันที่ 26 มิถุนายน ที่ความลึก 13.0 km (8.1 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ VII (แรงมาก)[104]
  • วานูวาตู เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.0 แมกนิจูด ในวานูอาตู ห่างจากเมืองลากาโตโร ไปทางตะวันออกเฉียงเหนือ 8 km (5.0 mi) เมื่อวันที่ 30 มิถุนายน ที่ความลึก 27.0 km (16.8 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ V (ปานกลาง)[105]

กรกฎาคม[แก้]

กรกฎาคม
แผ่นดินไหว
รุนแรงที่สุด
7.7 Mw  หมู่เกาะนอร์เทิร์นมาเรียนา
ผู้เสียชีวิตมากที่สุด6.3 Mw  เอกวาดอร์
2 คน
ผู้เสียชีวิตทั้งหมด2 คน
จำนวนตามแมกนิจูด
8.0−8.90
7.0−7.91
6.0−6.96
5.0−5.9119
4.0−4.91,044
  • ตองงา เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.0 แมกนิจูด นอกชายฝั่งตองงา ห่างจากหมู่บ้านไฮไฮโฟ ไปทางตะวันออกเฉียงเหนือกึ่งเหนือ 111 km (69 mi) เมื่อวันที่ 10 กรกฎาคม ที่ความลึก 10.0 km (6.2 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ IV (เบา)[106]
  • เอกวาดอร์ เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.3 แมกนิจูด ในเอกวาดอร์ ห่างจากเมืองโรซาซาราเต จังหวัดเอสเมรัลดัส ไปทางตะวันตกเฉียงเหนือ 33 km (21 mi) เมื่อวันที่ 11 กรกฎาคม ที่ความลึก 21.0 km (13.0 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ VI (แรง)[107] มีรายงานผู้เสียชีวิต 2 ราย[108]
  • นิวซีแลนด์ เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.3 แมกนิจูด ในนิวซีแลนด์ ห่างจากเกาะราเอาล์ ไปทางตะวันออกเฉียงเหนือ 200 km (120 mi) เมื่อวันที่ 13 กรกฎาคม ที่ความลึก 10.0 km (6.2 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ III (อ่อน)[109]
  • วานูวาตู เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.1 แมกนิจูด ในวานูอาตู ห่างจากเมืองอิซันเกล ไปทางตะวันตกเฉียงเหนือกึ่งเหนือ 70 km (43 mi) เมื่อวันที่ 20 กรกฎาคม ที่ความลึก 174.0 km (108.1 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ IV (เบา)[110]
  • ชิลี เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.1 แมกนิจูด ในชิลี ห่างจากเมืองดิเอโกเดอัลมาโกร ไปทางตะวันตกเฉียงเหนือ 53 km (33 mi) เมื่อวันที่ 25 กรกฎาคม ที่ความลึก 71.5 km (44.4 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ V (ปานกลาง)[111]
  • ปาปัวนิวกินี เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.4 แมกนิจูด ในปาปัวนิวกินี ห่างจากเมืองลอเรนเกา ไปทางตะวันออกเฉียงใต้ 128 km (80 mi) เมื่อวันที่ 25 กรกฎาคม ที่ความลึก 7.3 km (4.5 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ V (ปานกลาง)[112]
  • หมู่เกาะนอร์เทิร์นมาเรียนา เกิดแผ่นดินไหวขนาด 7.7 แมกนิจูด นอกชายฝั่งหมู่เกาะนอร์เทิร์นมาเรียนาของสหรัฐอเมริกา ห่างจากเกาะอากริฮัน ไปทางตะวันตกเฉียงใต้กึ่งใต้ 28 km (17 mi) เมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม ที่ความลึก 207.6 km (129.0 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ VI (แรง)[113]

สิงหาคม[แก้]

สิงหาคม
แผ่นดินไหว
รุนแรงที่สุด
7.4 Mw  เกาะเซาท์จอร์เจียและหมู่เกาะเซาท์แซนด์วิช
ผู้เสียชีวิตมากที่สุด6.2 Mw อิตาลี อิตาลี
299 คน
ผู้เสียชีวิตทั้งหมด309 คน
จำนวนตามแมกนิจูด
8.0−8.90
7.0−7.93
6.0−6.910
5.0−5.9140
4.0−4.91,236
  • อาเซอร์ไบจาน เกิดแผ่นดินไหวขนาด 5.0 แมกนิจูด ในอาเซอร์ไบจาน ห่างจากเมืองอิมิชลี ไปทางตะวันตกเฉียงเหนือ 12 km (7.5 mi) เมื่อวันที่ 1 สิงหาคม ที่ความลึก 16.0 km (9.9 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ V (ปานกลาง)[114] มีรายงานผู้เสียชีวิต 1 คนจากอาการหัวใจวายระหว่างเกิดแผ่นดินไหวในเมืองปาร์ซาบัด ทางตะวันตกเฉียงเหนือของอิหร่าน[115]
  • อาร์เจนตินา เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.2 แมกนิจูด ในอาร์เจนตินา ห่างจากเมืองอะบราปัมปา ไปทางตะวันตกเฉียงเหนือ 53 km (33 mi) เมื่อวันที่ 4 สิงหาคม ที่ความลึก 270.0 km (167.8 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ IV (เบา)[116]
  • ญี่ปุ่น เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.3 แมกนิจูด นอกชายฝั่งญี่ปุ่น ห่างจากเกาะอิโวจิมา ไปทางตะวันออกเฉียงเหนือกึ่งตะวันออก 70 km (43 mi) เมื่อวันที่ 4 สิงหาคม ที่ความลึก 510.0 km (316.9 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ II (อ่อน)[117]
  • นิวแคลิโดเนีย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 7.2 แมกนิจูด นอกชายฝั่งนิวแคลิโดเนีย ดินแดนโพ้นทะเลของฝรั่งเศส ห่างจากเกาะฮันเทอร์ ไปทางตะวันออก 109 km (68 mi) เมื่อวันที่ 12 สิงหาคม ที่ความลึก 9.9 km (6.2 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ I (ไม่รู้สึก)[118]
  • ตองงา เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.1 แมกนิจูด นอกชายฝั่งตองงา ห่างจากพืดหินมิเนอร์วา ไปทางตะวันออกเฉียงใต้ 225 km (140 mi) เมื่อวันที่ 12 สิงหาคม ที่ความลึก 112.9 km (70.2 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ I (ไม่รู้สึก)[119]
  • เปรู เกิดแผ่นดินไหวขนาด 5.5 แมกนิจูด ในเปรู ห่างจากยูตา ไปทางเหนือ 39 km (24 mi) เมื่อวันที่ 15 สิงหาคม ที่ความลึก 20.0 km (12.4 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ VI (แรง)[120] มีรายงานผู้เสียชีวิต 5 คน ในจำนวนนี้มีนักท่องเที่ยวชาวอเมริกัน 1 คน และบาดเจ็บอย่างน้อย 40 คน[121]
  • ออสเตรเลีย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 5.7 แมกนิจูด ในออสเตรเลีย ห่างจากเมืองโบเวน รัฐควีนส์แลนด์ ไปทางตะวันออกเฉียงเหนือกึ่งตะวันออก 54 km (34 mi) เมื่อวันที่ 18 สิงหาคม ที่ความลึก 7.8 km (4.8 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ VI (แรง)[122] นับเป็นแผ่นดินไหวที่มีแมกนิจูดสูงสุดในรอบ 20 ปีในรัฐควีนส์แลนด์ มีรายงานความเสียหายเล็กน้อย และมีการอพยพผู้คนในสนามบินบางแห่ง[123]
  • เกาะเซาท์จอร์เจียและหมู่เกาะเซาท์แซนด์วิช เกิดแผ่นดินไหวขนาด 7.4 แมกนิจูด นอกชายฝั่งเกาะเซาท์จอร์เจียและหมู่เกาะเซาท์แซนด์วิช ห่างจากเกาะเซาท์จอร์เจีย ไปทางตะวันออกเฉียงใต้กึ่งตะวันออก 240 km (150 mi) เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม ที่ความลึก 10.0 km (6.2 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ I (ไม่รู้สึก)[124]
  • ญี่ปุ่น เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.0 แมกนิจูด นอกชายฝั่งญี่ปุ่น ห่างจากเมืองมิยะโกะ จังหวัดอิวะเตะ ไปทางตะวันออกเฉียงเหนือกึ่งตะวันออก 167 km (104 mi) เมื่อวันที่ 20 สิงหาคม ที่ความลึก 10.0 km (6.2 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ IV (เบา)[125]
  • ญี่ปุ่น เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.0 แมกนิจูด นอกชายฝั่งญี่ปุ่น ห่างจากเมืองมิยะโกะ จังหวัดอิวะเตะ ไปทางตะวันออกเฉียงเหนือกึ่งตะวันออก 170 km (110 mi) เมื่อวันที่ 20 สิงหาคม ที่ความลึก 10.0 km (6.2 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ IV (เบา)[126] แผ่นดินไหวครั้งนี้ถือเป็นแผ่นดินไหวตามจากแผ่นดินไหวขนาด 6.0 ที่เกิดขึ้นก่อนหน้าในวันเดียวกัน
  • เกาะเซาท์จอร์เจียและหมู่เกาะเซาท์แซนด์วิช เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.1 แมกนิจูด นอกชายฝั่งเกาะเซาท์จอร์เจียและหมู่เกาะเซาท์แซนด์วิช ห่างจากเกาะเซาท์จอร์เจีย ไปทางตะวันออกเฉียงใต้กึ่งตะวันออก 240 km (150 mi) เมื่อวันที่ 21 สิงหาคม ที่ความลึก 12.0 km (7.5 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ I (ไม่รู้สึก)[127] แผ่นดินไหวครั้งนี้ถือเป็นแผ่นดินไหวตามจากแผ่นดินไหวขนาด 7.4 เมื่อวันที่ 19
  • อินโดนีเซีย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.0 แมกนิจูด ในอินโดนีเซีย ห่างจากเนเบ จังหวัดนูซาเติงการาตะวันออก ไปทางเหนือ 132 km (82 mi) เมื่อวันที่ 23 สิงหาคม ที่ความลึก 528.2 km (328.2 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ II (อ่อน)[128]
  • อิตาลี เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.2 แมกนิจูด ในอิตาลี ห่างจากเมืองนอร์จา ไปทางตะวันออกเฉียงใต้ 10 km (6.2 mi) เมื่อวันที่ 24 สิงหาคม ที่ความลึก 5.1 km (3.2 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ IX (ร้ายแรง)[129] ทำให้มีผู้เสียชีวิต 299 คน บาดเจ็บ 388 คน เกิดความเสียหายอย่างหนักในพื้นที่รอบจุดเหนือศูนย์เกิดแผ่นดินไหว โดยเฉพาะในเมืองอมาตรีเช[130][131]
  • ประเทศพม่า เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.8 แมกนิจูด ในพม่า ห่างจากเมืองเชาะ ไปทางตะวันตก 25 km (16 mi) เมื่อวันที่ 24 สิงหาคม ที่ความลึก 84.1 km (52.3 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ VI (แรง)[132] มีรายงานผู้เสียชีวิต 4 คน บาดเจ็บ 20 คน และทำให้เจดีย์จำนวนมากในพุกามพังทลาย[133]
  • เกาะอัสเซนชัน เกิดแผ่นดินไหวขนาด 7.1 แมกนิจูด นอกชายฝั่งเกาะอัสเซนชัน ห่างจากเกาะไปทางตะวันตกเฉียงเหนือกึ่งเหนือ 980 km (610 mi) เมื่อวันที่ 29 สิงหาคม ที่ความลึก 10.0 km (6.2 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ I (ไม่รู้สึก)[134]
  • ปาปัวนิวกินี เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.8 แมกนิจูด ในปาปัวนิวกินี ห่างจากเมืองนามาตาไน จังหวัดนิวไอร์แลนด์ ไปทางตะวันออก 39 km (24 mi) เมื่อวันที่ 31 สิงหาคม ที่ความลึก 476.0 km (295.8 mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ III (อ่อน)[135]

อ้างอิง[แก้]

  1. แบบรายงานสดแผ่นดินไหวและวันที่แน่นอนพร้อมด้วยแผนที่แผ่นดินไหวแบบเรียลไทม์ของ USGS
  2. "M6.3 - Western Indian-Antarctic Ridge". สำนักสำรวจธรณีวิทยาสหรัฐอเมริกา. January 1, 2016. สืบค้นเมื่อ January 1, 2016.
  3. "M6.7 - 30km W of Imphal, India". สำนักสำรวจธรณีวิทยาสหรัฐอเมริกา. January 3, 2015. สืบค้นเมื่อ January 3, 2015.
  4. "Quake strikes northeast India, Bangladesh; 11 dead, nearly 200 hurt". Associated Press. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-09-12. สืบค้นเมื่อ January 4, 2016.
  5. "M6.0 - Pacific-Antarctic Ridge". สำนักสำรวจธรณีวิทยาสหรัฐอเมริกา. January 5, 2016. สืบค้นเมื่อ February 20, 2016.
  6. "M6.5 - 227km SE of Sarangani, Philippines". สำนักสำรวจธรณีวิทยาสหรัฐอเมริกา. January 11, 2016. สืบค้นเมื่อ January 11, 2016.
  7. "M6.2 - 74km NW of Rumoi, Japan". สำนักสำรวจธรณีวิทยาสหรัฐอเมริกา. January 11, 2016. สืบค้นเมื่อ January 11, 2016.
  8. "M6.1 - 12km WNW of Charagua, Bolivia". สำนักสำรวจธรณีวิทยาสหรัฐอเมริกา. January 14, 2016. สืบค้นเมื่อ January 14, 2016.
  9. "M6.7 - 52km SE of Shizunai, Japan". สำนักสำรวจธรณีวิทยาสหรัฐอเมริกา. January 14, 2016. สืบค้นเมื่อ January 15, 2016.
  10. "M5.6 - 69km SSE of Namlea, Indonesia". สำนักสำรวจธรณีวิทยาสหรัฐอเมริกา. January 16, 2016. สืบค้นเมื่อ January 17, 2016.
  11. "Indonesia earthquake injures eight, damages houses". Agence France Presse. January 17, 2016. สืบค้นเมื่อ January 17, 2016.
  12. "M5.9 - 70km ESE of Hongtu, China". สำนักสำรวจธรณีวิทยาสหรัฐอเมริกา. January 20, 2016. สืบค้นเมื่อ January 24, 2016.
  13. "Nine Injured in N.W. China Quake". Xinhua. January 21, 2016. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-02-03. สืบค้นเมื่อ January 24, 2016.
  14. "M6.6 - 215km SW of Tomatlan, Mexico". สำนักสำรวจธรณีวิทยาสหรัฐอเมริกา. January 21, 2016. สืบค้นเมื่อ January 24, 2016.
  15. "M7.1 - 86km E of Old Iliamna, Alaska". สำนักสำรวจธรณีวิทยาสหรัฐอเมริกา. January 24, 2016. สืบค้นเมื่อ February 6, 2016.
  16. "Red Cross sends team to Kenai to assist families affected by 7.1 earthquake". January 24, 2016. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-01-24. สืบค้นเมื่อ January 24, 2016.
  17. "M6.3 - 50km NNE of Al Hoceima, Morocco". สำนักสำรวจธรณีวิทยาสหรัฐอเมริกา. January 25, 2016. สืบค้นเมื่อ January 25, 2016.
  18. "Streets littered with rubble as 6.1 quake strikes off coasts of Spain, Morocco (VIDEO)". RT. January 25, 2016. สืบค้นเมื่อ January 26, 2016.
  19. "M6.1 - 94km SSE of Taron, Papua New Guinea". สำนักสำรวจธรณีวิทยาสหรัฐอเมริกา. January 26, 2016. สืบค้นเมื่อ March 6, 2016.
  20. "M7.2 - 88km N of Yelizovo, Russia". สำนักสำรวจธรณีวิทยาสหรัฐอเมริกา. January 30, 2016. สืบค้นเมื่อ January 30, 2016.
  21. "M6.1 - Balleny Islands region". สำนักสำรวจธรณีวิทยาสหรัฐอเมริกา. January 31, 2016. สืบค้นเมื่อ January 31, 2016.
  22. "M6.2 - 124km NW of L'Esperance Rock, New Zealand". สำนักสำรวจธรณีวิทยาสหรัฐอเมริกา. February 1, 2016. สืบค้นเมื่อ February 1, 2016.
  23. "M 6.4 - 24km SE of Yujing, Taiwan". สำนักสำรวจธรณีวิทยาสหรัฐอเมริกา. February 6, 2016. สืบค้นเมื่อ February 14, 2016.
  24. "Multiple buildings collapse, casualties unknown in 6.4 quake in Taiwan". RT. February 6, 2016. สืบค้นเมื่อ February 6, 2016.
  25. "Body of last victim of apartment collapse in Tainan found". Focus Taiwan. February 18, 2016. สืบค้นเมื่อ February 18, 2016.
  26. Huang Kuo-fang and Elizabeth Hsu. "Remains of last unaccounted-for quake victim found". Focus Taiwan.
  27. "M6.4 - 88km WSW of Panguna, Papua New Guinea". สำนักสำรวจธรณีวิทยาสหรัฐอเมริกา. February 8, 2016. สืบค้นเมื่อ February 8, 2016.
  28. "M6.3 - 36km W of Ovalle, Chile". สำนักสำรวจธรณีวิทยาสหรัฐอเมริกา. February 10, 2016. สืบค้นเมื่อ February 10, 2016.
  29. "M6.3 - 0km W of Komerda, Indonesia". สำนักสำรวจธรณีวิทยาสหรัฐอเมริกา. February 12, 2016. สืบค้นเมื่อ February 12, 2016.
  30. "M5.8 - 11km ENE of Christchurch, New Zealand". สำนักสำรวจธรณีวิทยาสหรัฐอเมริกา. February 14, 2016. สืบค้นเมื่อ February 14, 2016.
  31. "Christchurch hit by severe earthquake". February 14, 2016. สืบค้นเมื่อ February 14, 2016.
  32. "M6.0 - 32km WNW of Nuku`alofa, Tonga". สำนักสำรวจธรณีวิทยาสหรัฐอเมริกา. February 15, 2016. สืบค้นเมื่อ March 10, 2016.
  33. "M6.1 - Southern East Pacific Rise". สำนักสำรวจธรณีวิทยาสหรัฐอเมริกา. February 17, 2016. สืบค้นเมื่อ February 17, 2016.
  34. "M6.0 - 151km SE of Tobelo, Indonesia". สำนักสำรวจธรณีวิทยาสหรัฐอเมริกา. February 17, 2016. สืบค้นเมื่อ February 17, 2016.
  35. "M6.0 - 105km WSW of Coquimbo, Chile". สำนักสำรวจธรณีวิทยาสหรัฐอเมริกา. February 22, 2016. สืบค้นเมื่อ April 6, 2016.
  36. "M6.1 - Western Pacific-Antarctic Ridge". สำนักสำรวจธรณีวิทยาสหรัฐอเมริกา. February 27, 2016. สืบค้นเมื่อ March 21, 2016.
  37. "M7.8 - Southwest of Sumatra, Indonesia". สำนักสำรวจธรณีวิทยาสหรัฐอเมริกา. March 2, 2016. สืบค้นเมื่อ March 2, 2016.
  38. "M6.3 - 71km S of Atka, Alaska". สำนักสำรวจธรณีวิทยาสหรัฐอเมริกา. March 12, 2016. สืบค้นเมื่อ March 12, 2016.
  39. "M6.0 - 76km S of Atka, Alaska". สำนักสำรวจธรณีวิทยาสหรัฐอเมริกา. March 19, 2016. สืบค้นเมื่อ March 19, 2016.
  40. "M6.0 - 124km ENE of Codrington, Barbuda". สำนักสำรวจธรณีวิทยาสหรัฐอเมริกา. March 19, 2016. สืบค้นเมื่อ March 19, 2016.
  41. "M6.4 - 211km S of Ust'-Kamchatsk Staryy, Russia". สำนักสำรวจธรณีวิทยาสหรัฐอเมริกา. March 20, 2016. สืบค้นเมื่อ March 20, 2016.
  42. "M6.0 - 56km SE of Shingu, Japan". สำนักสำรวจธรณีวิทยาสหรัฐอเมริกา. April 1, 2016. สืบค้นเมื่อ April 1, 2016.
  43. "M6.2 - 123km NE of Angoram, Papua New Guinea". สำนักสำรวจธรณีวิทยาสหรัฐอเมริกา. April 1, 2016. สืบค้นเมื่อ April 6, 2016.
  44. "M6.2 - 100km NNE of Chignik Lake, Alaska". สำนักสำรวจธรณีวิทยาสหรัฐอเมริกา. April 2, 2016. สืบค้นเมื่อ April 2, 2016.
  45. "M6.9 - 81km NNW of Port-Olry, Vanuatu". สำนักสำรวจธรณีวิทยาสหรัฐอเมริกา. April 3, 2016. สืบค้นเมื่อ April 3, 2016.
  46. "M6.7 - 105km WSW of Sola, Vanuatu". สำนักสำรวจธรณีวิทยาสหรัฐอเมริกา. April 6, 2016. สืบค้นเมื่อ April 6, 2016.
  47. "M6.0 - 68km SSW of Bunisari, Indonesia". สำนักสำรวจธรณีวิทยาสหรัฐอเมริกา. April 6, 2016. สืบค้นเมื่อ April 6, 2016.
  48. "M6.7 - 106km W of Sola, Vanuatu". สำนักสำรวจธรณีวิทยาสหรัฐอเมริกา. April 7, 2016. สืบค้นเมื่อ April 7, 2016.
  49. "M4.1 - 9km SSW of Patan, Nepal". สำนักสำรวจธรณีวิทยาสหรัฐอเมริกา. April 10, 2016. สืบค้นเมื่อ April 13, 2016.
  50. "Earthquake magnitude 4.5 struck Nepal". Xinhua News Agency. April 9, 2016. สืบค้นเมื่อ April 9, 2016.
  51. "M6.6 - 39km WSW of Ashkasham, Afghanistan". สำนักสำรวจธรณีวิทยาสหรัฐอเมริกา. April 10, 2016. สืบค้นเมื่อ April 10, 2016.
  52. "At Least 6 Killed, 46 Injured in Pakistan by Afghanistan Earthquake". LAHT. April 11, 2016. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-04-23. สืบค้นเมื่อ April 11, 2016.
  53. "M6.9 - 74km SE of Mawlaik, Burma". สำนักสำรวจธรณีวิทยาสหรัฐอเมริกา. April 13, 2016. สืบค้นเมื่อ April 13, 2016.
  54. "Assam: At least two killed, 70 injured in earthquake". dnaindia.com. DNA India. สืบค้นเมื่อ 14 April 2016.
  55. "Earthquake: 50 hurt, 4 buildings tilt in Ctg". The Daily Star. April 13, 2016. สืบค้นเมื่อ April 13, 2016.
  56. "M6.0 - 86km NW of Port-Olry, Vanuatu". สำนักสำรวจธรณีวิทยาสหรัฐอเมริกา. April 14, 2016. สืบค้นเมื่อ April 14, 2016.
  57. "M6.2 - 7km SW of Ueki, Japan". สำนักสำรวจธรณีวิทยาสหรัฐอเมริกา. April 14, 2016. สืบค้นเมื่อ April 14, 2016.
  58. 58.0 58.1 "26 new fatalities as more quakes hit Kyushu; 900 or so injured". Asahi. April 16, 2016. สืบค้นเมื่อ April 16, 2016.
  59. "Strong 7.3 quake hits Japan just a day after smaller tremor kills 10". Weather.com. April 14, 2016. สืบค้นเมื่อ April 14, 2016.
  60. "6.2 Magnitude Earthquake Hits Southern Japan, Killing 2; Homes Collapse, 45 Injured". Associated Press. April 15, 2016. สืบค้นเมื่อ April 16, 2016.
  61. "9 dead, over 1,000 injured in Kyushu quake ‹ Japan Today: Japan News and Discussion". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-04-15. สืบค้นเมื่อ 2016-04-18.
  62. "M6.0 - 5km E of Uto, Japan". สำนักสำรวจธรณีวิทยาสหรัฐอเมริกา. April 14, 2016. สืบค้นเมื่อ April 14, 2016.
  63. "M6.4 - 95km NW of Port-Olry, Vanuatu". สำนักสำรวจธรณีวิทยาสหรัฐอเมริกา. April 14, 2016. สืบค้นเมื่อ April 15, 2016.
  64. "M6.1 - 105km SSW of Champerico, Guatemala". สำนักสำรวจธรณีวิทยาสหรัฐอเมริกา. April 15, 2016. สืบค้นเมื่อ April 15, 2016.
  65. "M7.0 - 1km WSW of Kumamoto-shi, Japan". สำนักสำรวจธรณีวิทยาสหรัฐอเมริกา. April 15, 2016. สืบค้นเมื่อ April 15, 2016.
  66. "M7.8 - 27km SSE of Muisne, Ecuador". สำนักสำรวจธรณีวิทยาสหรัฐอเมริกา. April 16, 2016. สืบค้นเมื่อ April 17, 2016.
  67. "INFORMES DE SITUACIÓN ACTUAL – TERREMOTO MAGNITUD 7.8" (ภาษาสเปน). Secretaría de Gestión de Riesgos. April 16, 2016. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-06-04. สืบค้นเมื่อ April 20, 2016.
  68. "M6.2 - 19km WNW of Muisne, Ecuador". สำนักสำรวจธรณีวิทยาสหรัฐอเมริกา. April 20, 2016. สืบค้นเมื่อ April 20, 2016.
  69. "M6.0 - 12km NNE of Muisne, Ecuador". สำนักสำรวจธรณีวิทยาสหรัฐอเมริกา. April 20, 2016. สืบค้นเมื่อ April 20, 2016.
  70. "M6.0 - 33km NNW of Bahia de Caraquez, Ecuador". สำนักสำรวจธรณีวิทยาสหรัฐอเมริกา. April 22, 2016. สืบค้นเมื่อ April 22, 2016.
  71. "M6.0 - 83km WSW of Puerto Madero, Mexico". สำนักสำรวจธรณีวิทยาสหรัฐอเมริกา. April 25, 2016. สืบค้นเมื่อ June 8, 2016.
  72. "M6.0 - 75km WSW of Puerto Madero, Mexico". สำนักสำรวจธรณีวิทยาสหรัฐอเมริกา. April 27, 2016. สืบค้นเมื่อ June 8, 2016.
  73. "M7.0 - 1km SE of Norsup, Vanuatu". สำนักสำรวจธรณีวิทยาสหรัฐอเมริกา. April 28, 2016. สืบค้นเมื่อ April 29, 2016.
  74. "M6.6 - Northern East Pacific Rise". สำนักสำรวจธรณีวิทยาสหรัฐอเมริกา. April 29, 2016. สืบค้นเมื่อ April 29, 2016.
  75. "M6.6 - Northern East Pacific Rise". สำนักสำรวจธรณีวิทยาสหรัฐอเมริกา. April 29, 2016. สืบค้นเมื่อ April 29, 2016.
  76. "M5.2 - 66km NW of Gyamotang, China". United States Geological Survey. May 11, 2016.
  77. "Shallow quake hits Tibet, causes landslide". SBS News. Australian Associated Press. May 11, 2016.
  78. "M6.7 - 33km SE of Muisne, Ecuador". United States Geological Survey. May 18, 2016.
  79. Gonzalo Solano; Joshua Goodman; Al Clendenning (May 18, 2016). "Magnitude-6.7 earthquake reported in Ecuador". Quito: CTV News. Associated Press.
  80. "M6.9 - 24km NW of Rosa Zarate, Ecuador". United States Geological Survey. May 18, 2016.
  81. Alexandra Valencia; Andrew Cawthorne (May 18, 2016). "Ecuador coast hit by two earthquakes; one dead". Quito: Reuters Canada. สืบค้นเมื่อ May 18, 2016.
  82. "M6.0 - Northern Territory, Australia". United States Geological Survey. May 20, 2016.
  83. "M6.4 - 18km SSE of Ndoi Island, Fiji". United States Geological Survey. May 27, 2016.
  84. "M6.9 - 155km SSE of Ndoi Island, Fiji". United States Geological Survey. May 28, 2016.
  85. "M7.2 - 53km NNE of Visokoi Island, South Georgia and the South Sandwich Islands". United States Geological Survey. May 28, 2016.
  86. "M5.4 - 16km SSW of Lakhdaria, Algeria". United States Geological Survey. May 29, 2016.
  87. "5.3 magnitude earthquake injures 28 people in Algeria's Medea". Africanews. May 30, 2016.
  88. "M6.4 - 94km ENE of Keelung, Taiwan". United States Geological Survey. May 31, 2016.
  89. "M6.6 - 79km W of Sungaipenuh, Indonesia". United States Geological Survey. June 2, 2016.
  90. "2,663 houses damaged in June 2 quake". Jakarta: Antara News. June 5, 2016.
  91. "M6.3 - 133km SW of Leksula, Indonesia". United States Geological Survey. June 5, 2016.
  92. "M6.1 - 84km S of Raoul Island, New Zealand". United States Geological Survey. June 6, 2016.
  93. "M6.3 - 106km SSW of San Patricio, Mexico". United States Geological Survey. June 8, 2016.
  94. "M6.3 - 123km WNW of Kota Ternate, Indonesia". United States Geological Survey. June 8, 2016.
  95. "M6.2 - 284km S of Kute, Indonesia". United States Geological Survey. June 9, 2016.
  96. "M6.1 - 22km E of Puerto Morazan, Nicaragua". United States Geological Survey. June 10, 2016. สืบค้นเมื่อ June 10, 2016.
  97. Grafica, La Prensa. "Sismo de 6.1 en Nicaragua deja al menos once casas dañadas". La Prensa Gráfica. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-11-28. สืบค้นเมื่อ 2016-11-24.
  98. "M6.2 - 18km WNW of Auki, Solomon Islands". United States Geological Survey. June 10, 2016.
  99. "M6.2 - 98km NNW of Isangel, Vanuatu". United States Geological Survey. June 14, 2016.
  100. "M6.3 - 83km SSW of Isangel, Vanuatu". United States Geological Survey. June 19, 2016.
  101. "M6.0 - 90km SW of Isangel, Vanuatu". United States Geological Survey. June 20, 2016.
  102. "M6.1 - Northern Mid-Atlantic Ridge". United States Geological Survey. June 21, 2016.
  103. "M6.3 - 67km WNW of Namatanai, Papua New Guinea". United States Geological Survey. June 21, 2016.
  104. "M6.4 - 28km SSE of Sary-Tash, Kyrgyzstan". United States Geological Survey. June 26, 2016.
  105. "M6.0 - 8km NE of Lakatoro, Vanuatu". United States Geological Survey. June 30, 2016.
  106. "M6.0 - 111km NNE of Hihifo, Tonga". United States Geological Survey. July 10, 2016.
  107. "M6.3 - 33km NW of Rosa Zarate, Ecuador". United States Geological Survey. July 11, 2016.
  108. "Sismos y estado de excepción siguen; hubo dos muertos" (ภาษาสเปน). El universo. July 12, 2016.
  109. "M6.3 - 200km NE of Raoul Island, New Zealand". United States Geological Survey. July 13, 2016.
  110. "M6.1 - 70km NNW of Isangel, Vanuatu". United States Geological Survey. July 20, 2016.
  111. "M6.1 - 53km NW of Diego de Almagro, Chile". United States Geological Survey. July 25, 2016.
  112. "M6.4 - 128km SE of Lorengau, Papua New Guinea". United States Geological Survey. July 25, 2016.
  113. "M7.7 - 28km SSW of Agrihan, Northern Mariana Islands". United States Geological Survey. July 29, 2016.
  114. "M5.0 - 12km NW of Imishli, Azerbaijan". United States Geological Survey. August 1, 2016.
  115. "Man in Iran dead as a result of quake in Azerbaijan". Trend News Agency. August 1, 2016. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-09-04. สืบค้นเมื่อ 2016-11-25.
  116. "M6.2 - 53km NW of Abra Pampa, Argentina". United States Geological Survey. August 4, 2016.
  117. "M6.3 - 70km ENE of Iwo Jima, Japan". United States Geological Survey. August 4, 2016.
  118. "M7.2 - 109km E of Ile Hunter, New Caledonia". United States Geological Survey. August 12, 2016.
  119. "M6.1 - South of the Fiji Islands". United States Geological Survey. August 12, 2016.
  120. "M5.5 - 39km N of Lluta, Peru". United States Geological Survey. August 15, 2016.
  121. "Sismo en Arequipa: aumentan a 5 los fallecidos en Caylloma" (ภาษาสเปน). DiarioCorreo.pe. August 17, 2016.
  122. "M5.7 - 54km ENE of Bowen, Australia". United States Geological Survey. August 18, 2016.
  123. Smith, Rohan (August 18, 2016). "Earthquake felt in North Queensland was 5.8 magnitude". News.com.au.
  124. "M7.4 - South Georgia Islands region". United States Geological Survey. August 19, 2016.
  125. "M6.0 - 167km ENE of Miyako, Japan". United States Geological Survey. August 20, 2016.
  126. "M6.0 - 170km ENE of Miyako, Japan". United States Geological Survey. August 20, 2016.
  127. "M6.1 - South Georgia Island region". United States Geological Survey. August 21, 2016.
  128. "M6.0 - 132km N of Nebe, Indonesia". United States Geological Survey. August 24, 2016.
  129. "M6.2 - 10km SE of Norcia, Italy". United States Geological Survey. August 24, 2016.
  130. "Terremoto nell'Italia centrale. È morta una donna ricoverata: le vittime sono 299" (ภาษาอิตาลี). Rai News24. November 15, 2016.
  131. "Amatrice: morto anziano rimasto ferito, vittime salgono a 298". L'Impronta L'Aquila (ภาษาอิตาลี). September 25, 2016.
  132. "M6.8 - 25km W of Chauk, Burma". United States Geological Survey. August 24, 2016.
  133. "Breaking: earthquake hits central Myanmar". The Myanmar Times. Yangon. Agence France-Presse. August 24, 2016.
  134. "M7.1 - North of Ascension Island". United States Geological Survey. August 29, 2016.
  135. "M6.8 - 39km E of Namatanai, Papua New Guinea". United States Geological Survey. August 31, 2016.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]