บารีซันนาซีโยนัล

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก แนวร่วมแห่งชาติ)
บารีซันนาซีโยนัล
ชื่อมลายูBarisan Nasional /
باريسن ناسيونل
ชื่อจีน国民阵线 /
Guómín zhènxiàn
ชื่อทมิฬபாரிசான் நேசனல்
ชื่อย่อBN
ผู้ก่อตั้งอับดุล ราซัก ฮุซเซน
ประธานอะฮ์หมัด ซาฮิด ฮามิดี
เลขาธิการเต็งกู อัดนาน เต็งกู มันโซร์
ผู้ช่วยประธานโมฮามัด ฮาซัน
รองประธานWee Ka Siong
Vigneswaran Sanasee
คำขวัญRakyat Didahulukan, Pencapaian Diutamakan.
Hidup Rakyat
Bersama BN, Hebatkan Negaraku
ก่อตั้ง1 มกราคม ค.ศ. 1973 (1973-01-01)[1]
รับรองตามกฎหมาย1 มิถุนายน ค.ศ.1974 (ในฐานะพรรคการเมือง)
ก่อนหน้าพรรคพันธมิตร
ที่ทำการอารัส 8, เมอเนรา ดาโต๊ะ อนน์, ปูตราเวิร์ดเทรดเซนเตอร์, กัวลาลัมเปอร์, ประเทศมาเลเซีย
หนังสือพิมพ์สนับสนุนบารีซันนาซีโยนัล:
นิวสเตรทส์ไทม์
อูตูซันมาเลเซีย (อดีต)
เดอะสตาร์
Nanyang Siang Pau
Tamil Nesan
ฝ่ายนักเรียนนักศึกษาBarisan Nasional Student Movement
ฝ่ายเยาวชนBarisan Nasional Youth Movement
ฝ่ายสตรีBarisan Nasional Women Movement
กลุ่มวัยรุ่นหญิงBarisan Nasional Young Women Movement
อุดมการณ์เกอตัวนันเมอลายู[2][3]
อนุรักษ์นิยมทางสังคม[4]
เสรีนิยมทางเศรษฐกิจ[5]
ซาตูมาเลเซีย
อนุรักษ์นิยมทางชาติ
ทรานฟอร์มาซีนาซีโอนัล 2050
จุดยืนฝ่ายขวา
สี  น้ำเงินหลวงและขาวท้องฟ้า
เพลงBarisan Nasional
วุฒิสภามาเลเซีย
27 / 70
สภาผู้แทนราษฎรมาเลเซีย
42 / 222
สภานิติบัญญัติแห่งชาติมาเลเซีย
131 / 587
เว็บไซต์
www.barisannasional.org.my
การเมืองมาเลเซีย
รายชื่อพรรคการเมือง
การเลือกตั้ง

บารีซันนาซีโยนัล (มลายู: Barisan Nasional; แปลว่า แนวร่วมแห่งชาติ) เป็นแนวร่วมทางการเมืองในมาเลเซีย จัดตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2516 เป็นพรรคที่เป็นรัฐบาลของสหพันธรัฐมาเลเซียมาอย่างยาวนานตั้งแต่ได้รับเอกราช

การจัดองค์กร[แก้]

พรรคสำคัญ 3 พรรคในแนวร่วมเป็นพรรคที่เน้นเชื้อชาติคือ อัมโน สมาคมชาวมาเลเซียเชื้อสายจีน และสภาชาวมาเลเซียเชื้อสายอินเดีย สมาชิกอื่นๆในแนวร่วมเปลี่ยนแปลงไปตามสถานการณ์การเมือง ในเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2552 สมาชิกในแนวร่วมนอกเหนือจากพรรคหลักได้แก่ ขบวนการประชาชนมาเลเซีย พรรคประชาชนก้าวหน้า พรรคสหประชาชนซาราวัก สหพรรคซาบะฮ์ พรรคประชาธิปไตยเสรี พรรคสหประชาชนซาบะฮ์ พรรคประชาธิปไตยก้าวหน้าซาราวัก พรรคประชาชนซาราวัก พรรคมรดกภูมิบุตร และองค์กรสหปาซกโมโมฆัน กาดาซันดูซัน มูรุต

ความภักดีของพรรคในสภา[แก้]

ใน พ.ศ. 2548 หัวข้อเกี่ยวกับการออกเสียงตามมติพรรคเกิดขึ้นเมื่อสมาชิกบารีซันนาซีโยนัล 2 คน คือ บุง มกตาร์ ราดิน และโมฮาเหม็ด อาซิซ สนับสนุนฝ่ายค้านจากพรรคกิจกรรมประชาธิปไตย ซึ่งเป็นเหตุการณ์ที่ไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อน ในที่สุดสมาชิกสภาทั้งสองคนออกมาขอโทษว่าเป็นความผิดพลาด หลังการเลือกตั้ง พ.ศ. 2551 สมาชิกที่เป็นพรรคการเมืองจากรัฐซาบะฮ์และรัฐซาราวักเรียกร้องให้มีความเป็นอิสระจากรัฐบาลสหพันธ์มากขึ้น และในปีเดียวกันนั้นพรรคซาบะฮ์ก้าวหน้าซึ่งเป็นต้นสังกัดของสมาชิกสภา 2 คนที่สนับสนุนฝ่ายค้านได้ออกจากแนวร่วม

บารีซันนาซีโยนัลและการแบ่งขั้วทางเชื้อชาติ[แก้]

บารีซันนาซีโยนัลนั้นบางครั้งแสดงถึงสังคมพหุเชื้อชาติที่ยังไม่ได้รวมกัน พรรคหลักที่เน้นเชื้อชาติเป็นศูนย์กลางขององค์กรที่เน้นเชื้อชาติอื่นๆ สังคมที่เน้นเชื้อชาติเกิดขึ้นแม้ในระดับโรงเรียน แม้อุมโนจะเสนอนโยบายที่เน้นการรวมกันทางเชื้อชาติแต่ก็ไม่ก่อให้เกิดแรงบันดาลใจในสังคม สิ่งสำคัญคือนโยบายภูมิบุตรของอุมโนที่ให้สิทธิชาวมลายูมากกว่าเชื้อชาติอื่น การรวมตัวเป็นพรรคการเมืองเดียวของบารีซันนาซีโยนัลเกิดขึ้นได้ยากเพราะการแบ่งแยกตามเชื้อชาติอย่างเข้มข้นในระบบของพรรคการเมือง ซึ่งเป็นภาพสะท้อนของสังคมมาเลเซีย

อ้างอิง[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]

  1. Joseph Liow; Michael Leifer (20 November 2014). Dictionary of the Modern Politics of Southeast Asia. Routledge. pp. 102–. ISBN 978-1-317-62233-8.
  2. Helen Ting. "The Politics of National Identity in West Malaysia: Continued Mutation or Critical Transition? [The Politics of Ambiguity]" (PDF). Southeast Asian Studies, Kyoto University. J-Stage. p. 3/21 [33] and 5/21 [35]. UMNO came into being in 1946 under the impetus of the Anti-Malayan Union Movement based on this ideological understanding of ketuanan Melayu. Its founding president, Dato’ Onn Jaafar, once said that the UMNO movement did not adhere to any ideology other than Melayuisme, defined by scholar Ariffin Omar as “the belief that the interests of the bangsa Melayu must be upheld over all else”. Malay political dominance is a fundamental reality of Malaysian politics, notwithstanding the fact that the governing coalition since independence, the Alliance [subsequently expanded to form the Barisan Nasional or literally, the “National Front”], is multiethnic in its composition.
  3. Jinna Tay; Graeme Turner (24 July 2015). Television Histories in Asia: Issues and Contexts. Routledge. pp. 127–. ISBN 978-1-135-00807-9.
  4. Timothy J. Lomperis, September 1996, 'From People's War to People's Rule: Insurgency, Intervention, and the Lessons of Vietnam', page 212, ISBN 0807822736
  5. Jan Senkyr (2013). "Political Awakening in Malaysia". KAS International Reports (7): 73–74.