แคลเซียมไบคาร์บอเนต

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
Calcium bicarbonate
แคลเซียมไบคาร์บอเนต
ชื่อ
IUPAC name
แคลเซียมไฮโดรเจนคาร์บอเนต
Systematic IUPAC name
Calcium bicarbonate
ชื่ออื่น
Cleansing lime
Bicarbonate of lime
Rain salt
เลขทะเบียน
3D model (JSmol)
เคมสไปเดอร์
UNII
  • InChI=1S/2CH2O3.Ca/c2*2-1(3)4;/h2*(H2,2,3,4);/q;;+2/p-2 checkY
    Key: NKWPZUCBCARRDP-UHFFFAOYSA-L checkY
  • InChI=1/2CH2O3.Ca/c2*2-1(3)4;/h2*(H2,2,3,4);/q;;+2/p-2
    Key: NKWPZUCBCARRDP-NUQVWONBAN
  • OC(=O)O[Ca]OC(=O)O
  • [Ca+2].[O-]C(=O)O.[O-]C(=O)O
คุณสมบัติ
Ca(HCO3)2
มวลโมเลกุล 162.11464 g/mol
16.1 g/100 mL (0 °C)
16.6 g/100 mL (20 °C)
18.5 g/100 mL (100 °C) แม่แบบ:Reference needed
ความอันตราย
อาชีวอนามัยและความปลอดภัย (OHS/OSH):
อันตรายหลัก
ระคายเคือง
จุดวาบไฟ ไม่ติดไฟ
สารประกอบอื่นที่เกี่ยวข้องกัน
แคทไอออนอื่น ๆ
แมกนีเซียมไบคาร์บอเนต
สารประกอบที่เกี่ยวข้อง
โซเดียมไบคาร์บอเนต
หากมิได้ระบุเป็นอื่น ข้อมูลข้างต้นนี้คือข้อมูลสาร ณ ภาวะมาตรฐานที่ 25 °C, 100 kPa

แคลเซียมไบคาร์บอเนต หรือ แคลเซียมไฮโดรเจนคาร์บอเนต (อังกฤษ: calcium bicarbonate; สูตรเคมี: Ca (HCO3)2) เป็นสารประกอบที่อยู่ในสารละลายเท่านั้น ถ้าสารละลายระเหยจะเกิดปฏิกิริยาดังนี้

Ca (HCO3) 2) (aq) → CO2 (g) + H2O (l) + CaCO3 (s).

แคลเซียมไบคาร์บอเนตจะเกิดก็ต่อเมื่อน้ำมีคาร์บอนไดออกไซด์ในสารละลาย (หรือเรียกว่า กรดคาร์บอนิก) ทำปฏิกิริยากับแคลเซียมคาร์บอเนต

ปฏิกิริยานี้มีความสำคัญมากในการเกิดหินงอก หินย้อย คอลัมน์ภายในถ้ำ น้ำที่มีคาร์บอนไดออกไซด์ในบรรยากาศผ่านลงไปตามหินปูน (limestone) หรือแคลเซียมคาร์บอเนตอื่น แคลเซียมคาร์บอเนตบางส่วนจะถูกเปลี่ยนไปเป็นไบคาร์บอเนตซึ่งละลายน้ำได้ดีมาก ต่อมาเมื่อน้ำแห้ง แคลเซียมไบคาร์บอเนตจะเปลี่ยนไปเป็นแคลเซียมคาร์บอเนต ซึ่งละลายน้ำได้น้อยจะแยกตัวออกมาเกาะเป็นหินงอกหินย้อย อุณหภูมิมีความสำคัญต่อปฏิกิริยามาก เพราะเมื่ออุณหภูมิสูง คาร์บอนไดออกไซด์จะแยกตัวออกจากสารละลายแคลเซียมคาร์บอเนตเร็วขึ้น

อ้างอิง[แก้]