แกลเลียมอาร์เซไนด์

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
แกลเลียมอาร์เซไนด์
Samples of gallium arsenide
ชื่อ
Preferred IUPAC name
Gallium arsenide
เลขทะเบียน
3D model (JSmol)
เคมสไปเดอร์
ECHA InfoCard 100.013.741 แก้ไขสิ่งนี้ที่วิกิสนเทศ
EC Number
  • 215-114-8
MeSH gallium+arsenide
RTECS number
  • LW8800000
UN number 1557
  • InChI=1S/AsH3.Ga.3H/h1H3;;;; ☒N
    Key: SHVQQKYXGUBHBI-UHFFFAOYSA-N ☒N
  • [Ga-].[As+]
คุณสมบัติ
GaAs
มวลโมเลกุล 144.645 g/mol
ลักษณะทางกายภาพ Very dark red, vitreous crystals
กลิ่น garlic-like when moistened
ความหนาแน่น 5.3176 g/cm3
จุดหลอมเหลว 1,238 องศาเซลเซียส (2,260 องศาฟาเรนไฮต์; 1,511 เคลวิน)
insoluble
ความสามารถละลายได้ soluble in HCl
insoluble in ethanol, methanol, acetone
Band gap 1.424 eV (at 300 K)
Electron mobility 8500 cm2/(V·s) (at 300 K)
การนำความร้อน 0.55 W/(cm·K) (at 300 K)
3.8[1]
โครงสร้าง
Zinc blende
T2d-F-43m
a = 565.35 pm
Tetrahedral
Linear
ความอันตราย
GHS labelling:
The health hazard pictogram in the Globally Harmonized System of Classification and Labelling of Chemicals (GHS)
อันตราย
H350, H360F, H372
P261, P273, P301+P310, P311, P501
NFPA 704 (fire diamond)
NFPA 704 four-colored diamondHealth 3: Short exposure could cause serious temporary or residual injury. E.g. chlorine gasFlammability 1: Must be pre-heated before ignition can occur. Flash point over 93 °C (200 °F). E.g. canola oilInstability 2: Undergoes violent chemical change at elevated temperatures and pressures, reacts violently with water, or may form explosive mixtures with water. E.g. white phosphorusSpecial hazard W: Reacts with water in an unusual or dangerous manner. E.g. sodium, sulfuric acid
3
1
2
เอกสารข้อมูลความปลอดภัย (SDS) External MSDS
หากมิได้ระบุเป็นอื่น ข้อมูลข้างต้นนี้คือข้อมูลสาร ณ ภาวะมาตรฐานที่ 25 °C, 100 kPa

แกลเลียมอาร์เซไนด์ (Gallium arsenide) เป็นสารประกอบทางเคมี สูตรทางเคมีคือ GaAs แกลเลียมอยู่ในสถานะออกซิเดชัน +3

คุณสมบัติ[แก้]

แกลเลียมอาร์เซไนด์ เป็นของแข็งสีเทา มีผลึกรูปร่างเป็นลูกบาศก์ ทำปฏิกิริยากับน้ำได้ช้าและรวดเร็วกับกรดที่จะทำให้เกิด arsine สามารถออกซิไดซ์ในอากาศ

การจัดเตรียม[แก้]

ทำได้จากการทำปฏิกิริยาระหว่างอาร์เซนิกไตรคลอไรด์หรือสารหนูกับแกลเลียม

การใช้[แก้]

แกลเลียมอาร์เซไนด์ส่วนใหญ่จะใช้เป็นเซมิคอนดักเตอร์ ดีกว่าซิลิกอนในหลายอย่าง เป็นเซมิคอนดักเตอร์ที่ทำได้เร็วกว่าและใช้พลังมากกว่า LED ที่ใช้แกลเลียมอาร์เซไนด์มีประสิทธิภาพ ในขณะที่ซิลิกอนถูกกว่า ซิลิกอนไดออกไซด์เป็นตัวฉนวนที่ดี แกลเลียมอาร์เซไนด์ไม่ได้เป็นฉนวนที่ดีอย่างซิลิกอน เซมิคอนดักเตอร์แบบซิลิกอนยังใช้พลังงานน้อยกว่าแกลเลียมอาร์เซไนด์

อ้างอิง[แก้]

  1. Refractive index of GaAs. Ioffe database