แกมมา
แกมมา | |
---|---|
![]() | |
อักษรกรีก | |
Αα แอลฟา | Νν นิว |
Ββ บีตา | Ξξ ไซ |
Γγ แกมมา | Οο โอไมครอน |
Δδ เดลตา | Ππ พาย |
Εε เอปไซลอน | Ρρ โร |
Ζζ ซีตา | Σσς ซิกมา |
Ηη อีตา | Ττ เทา |
Θθ ทีตา | Υυ อิปไซลอน |
Ι ι ℩ ไอโอตา | Φφ ฟาย |
Κκ แคปปา | Χχ ไค |
Λλ แลมดา | Ψψ พไซ |
Μμ มิว | Ωω โอเมกา |
ใกล้คลาสสิก | |
Ϝϝ เวา | ϘϙϞϟ คอปปา |
Ϻϻ แซน | ͲͲϠϡ แซมไพ |
Ϛϛ สติกมา | Ͱͱ ฮีตา |
Ϸϸ โช | |
เครื่องหมายเสริมอักษร |
บทความนี้เกี่ยวกับอักษรกรีก สำหรับความหมายอื่น ดูที่ แกมมา (แก้ความกำกวม)
แกมมา[1] (อังกฤษ: gamma) หรือ กามา (กรีก: γάμμα, γάμα, ตัวใหญ่ Γ, ตัวเล็ก γ) เป็นอักษรกรีกตัวที่ 3 และมีค่าของเลขกรีกเท่ากับ 3
การใช้งาน[แก้]
ตัวเล็ก[แก้]
γ ใช้เป็นสัญลักษณ์ต่าง ๆ ดังนี้
- ใช้แทนรังสีแกมมา
- ใช้แทนอนุภาคโฟตอน
- ใช้แทนตัวคูณลอเรนซ์ในทฤษฎีสัมพัทธภาพ
- ใช้แทนอัตราส่วนของความร้อนจำเพาะภายใต้สภาวะความดันคงที่กับปริมาตรคงที่ CP/CV ในอุณหพลวัตศาสตร์
- ใช้แทนค่าคงตัวออยเลอร์-แมสเชโรนี
ตัวใหญ่[แก้]
Γ ใช้เป็นสัญลักษณ์ต่าง ๆ ดังนี้
- ใช้แทนฟังก์ชันแกมมา ซึ่งเป็นการขยายฟังก์ชันแฟกทอเรียลไปใช้กับจำนวนที่ไม่เต็ม
อ้างอิงและเชิงอรรถ[แก้]
- ↑ เทียบกับศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน เช่น gamma ray = รังสีแกมมา
![]() |
บทความเกี่ยวกับภาษานี้ยังเป็นโครง คุณสามารถช่วยวิกิพีเดียได้โดยการเพิ่มเติมข้อมูล ดูเพิ่มที่ สถานีย่อย:ภาษา |