ข้ามไปเนื้อหา

เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีกอีลิท 2024–25 รอบลีก

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีกอีลิท 2024–25 รอบลีก จะลงเล่นตั้งแต่วันที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2567 ถึง 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2568.[1]

การจับสลาก

[แก้]

การจับสลากสำหรับรอบลีกได้จัดขึ้นเมื่อวันที่ 16 สิงหาคม ที่โรงแรม อินเตอร์คอนติเนนตัล กัวลาลัมเปอร์ ในกรุงกัวลาลัมเปอร์, ประเทศมาเลเซีย.[2]

ทีมวาง

[แก้]

สำหรับแต่ละโซน, แชมป์เก่าหรือทีมที่เป็นทีมวางสูงที่สุดจากแต่ละชาติสมาชิกที่มีส่วนเกี่ยวข้องจะได้ถูกจัดสรรให้อยู่ในโถที่ 1, ในขณะที่ทีมที่เหลือจะได้ถูกจัดสรรให้อยู่ในโถที่ 2.[3]

โซน โถ 1 โถ 2
โซนตะวันตก
โซนตะวันออก

ตารางการแข่งขัน

[แก้]

ตารางการแข่งขันของแต่ละแมตช์เดย์เป็นไปดังนี้.[4]

รอบ วันที่ (โซนตะวันตก) วันที่ (โซนตะวันออก)
นัดที่ 1 16–17 กันยายน พ.ศ. 2567 17–18 กันยายน พ.ศ. 2567
นัดที่ 2 30 กันยายน–1 ตุลาคม พ.ศ. 2567 1–2 ตุลาคม พ.ศ. 2567
นัดที่ 3 21–22 ตุลาคม พ.ศ. 2567 22–23 ตุลาคม พ.ศ. 2567
นัดที่ 4 4–5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2567 5–6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2567
นัดที่ 5 25–26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2567 26–27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2567
นัดที่ 6 2–3 ธันวาคม พ.ศ. 2567 3–4 ธันวาคม พ.ศ. 2567
นัดที่ 7 3–4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2568 11–12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2568
นัดที่ 8 17–18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2568 18–19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2568

รอบลีก

[แก้]

รายละเอียดโปรแกรมการแข่งขันได้มีการประกาศไว้เมื่อวันที่ 16 สิงหาคม พ.ศ. 2567 หลังพิธีการจับสลาก.[5][6][2]

โซนตะวันตก

[แก้]

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1 ประเทศซาอุดีอาระเบีย อัลฮิลาล 8 7 1 0 24 7 +17 22 ผ่านเข้าสู่ รอบ 16 ทีมสุดท้าย
2 ประเทศซาอุดีอาระเบีย อัลอะฮ์ลี 8 7 1 0 23 8 +15 22
3 ประเทศซาอุดีอาระเบีย อันนัศร์ 8 5 2 1 17 6 +11 17
4 ประเทศกาตาร์ อัสซัดด์ 8 3 3 2 10 9 +1 12
5 สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ อัลวัศล์ 8 3 2 3 8 12 −4 11
6 ประเทศอิหร่าน เอสเตห์กัล 8 2 3 3 8 9 −1 9
7 ประเทศกาตาร์ อัลรายยาน 8 2 2 4 8 12 −4 8
8 ประเทศอุซเบกิสถาน ปัคทาคอร์ 8 1 4 3 4 6 −2 7
9 ประเทศอิหร่าน เปร์เซโปลิส 8 1 4 3 6 10 −4 7
10 ประเทศกาตาร์ อัลฆ็อรรอฟะฮ์ 8 2 1 5 10 18 −8 7
11 ประเทศอิรัก อัชชัรเฏาะฮ์ 8 1 3 4 7 17 −10 6
12 สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ อัลไอน์ 8 0 2 6 11 22 −11 2
แหล่งข้อมูล: สมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย
กฏการจัดอันดับ: 1) คะแนน; 2) ผลต่างประตู; 3) จำนวนประตูที่ทำได้; 4) จำนวนนัดที่ชนะ; 5) ดวลลูกโทษชี้ขาดถ้าสองทีมที่เหลือเท่านั้นมีผลเสมอและลงเล่นพบกับทีมอื่นในแมตช์เดย์สุดท้าย แมตช์เดย์ที่ 6) อันดับแฟร์เพลย์; 7) จำนวนเสมอ

สรุปผลการแข่งขัน

[แก้]
นัดที่ 1
ทีมเหย้าผลทีมเยือน
อัลไอน์ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์1–1ประเทศกาตาร์ อัสซัดด์
อัชชัรเฏาะฮ์ ประเทศอิรัก1–1ประเทศซาอุดีอาระเบีย อันนัศร์
เอสเตห์กัล ประเทศอิหร่าน3–0ประเทศกาตาร์ อัลฆ็อรรอฟะฮ์
อัลอะฮ์ลี ประเทศซาอุดีอาระเบีย1–0ประเทศอิหร่าน เปร์เซโปลิส
ปัคทาคอร์ ประเทศอุซเบกิสถาน0–1สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ อัลวัศล์
อัรร็อยยาน ประเทศกาตาร์1–3ประเทศซาอุดีอาระเบีย อัลฮิลาล

แมตช์

[แก้]
นัดที่ 1
[แก้]
อัลไอน์ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์1–1ประเทศกาตาร์ อัสซัดด์
รายงาน
ผู้ชม: 18,926 คน
ผู้ตัดสิน: Sadullo Gulmurodi (ทาจิกิสถาน)


เอสเตห์กัล ประเทศอิหร่าน3–0ประเทศกาตาร์ อัลฆ็อรรอฟะฮ์
รายงาน


ปัคทาคอร์ ประเทศอุซเบกิสถาน0–1สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ อัลวัศล์
รายงาน
ผู้ชม: 3,750 คน
ผู้ตัดสิน: Yusuke Araki (ญี่ปุ่น)

นัดที่ 2
[แก้]
อัสซัดด์ ประเทศกาตาร์2–0ประเทศอิหร่าน เอสเตห์กัล
รายงาน


อัลวัศล์ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์0–2ประเทศซาอุดีอาระเบีย อัลอะฮ์ลี
รายงาน
ผู้ชม: 5,731 คน
ผู้ตัดสิน: Kim Hee-gon (เกาหลีใต้)


อัลฆ็อรรอฟะฮ์ ประเทศกาตาร์4–2สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ อัลไอน์
รายงาน
ผู้ชม: 3,878 คน
ผู้ตัดสิน: Hiroyuki Kimura (ญี่ปุ่น)

นัดที่ 3
[แก้]

อัสซัดด์ ประเทศกาตาร์1–0ประเทศอิหร่าน เปร์เซโปลิส
รายงาน


อัรร็อยยาน ประเทศกาตาร์1–2ประเทศซาอุดีอาระเบีย อัลอะฮ์ลี
รายงาน

เอสเตห์กัล ประเทศอิหร่าน0–1ประเทศซาอุดีอาระเบีย อันนัศร์
รายงาน
สนามกีฬาระชิด, ดูไบ (สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์)[note 4][7]
ผู้ชม: 7,600 คน
ผู้ตัดสิน: Adham Makhadmeh (จอร์แดน)

นัดที่ 4
[แก้]
อัลวัศล์ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์1–1ประเทศกาตาร์ อัสซัดด์
รายงาน
ผู้ชม: 3,376 คน
ผู้ตัดสิน: Nazmi Nasaruddin (มาเลเซีย)


เปร์เซโปลิส ประเทศอิหร่าน1–1ประเทศกาตาร์ อัลฆ็อรรอฟะฮ์
รายงาน
สนามกีฬาอาลมักตูม, ดูไบ (สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์)[note 4]
ผู้ชม: 3,941 คน
ผู้ตัดสิน: Kim Hee-gon (เกาหลีใต้)

อัลฮิลาล ประเทศซาอุดีอาระเบีย3–0ประเทศอิหร่าน เอสเตห์กัล
รายงาน
ผู้ชม: 17,840 คน
ผู้ตัดสิน: Ko Hyung-jin (เกาหลีใต้)

ปัคทาคอร์ ประเทศอุซเบกิสถาน0–1ประเทศกาตาร์ อัรร็อยยาน
รายงาน

อันนัศร์ ประเทศซาอุดีอาระเบีย5–1สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ อัลไอน์
รายงาน
ผู้ชม: 23,324 คน
ผู้ตัดสิน: Ma Ning (จีน)
นัดที่ 5
[แก้]
อัลไอน์ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์1–2ประเทศซาอุดีอาระเบีย อัลอะฮ์ลี
รายงาน

เอสเตห์กัล ประเทศอิหร่าน0–0ประเทศอุซเบกิสถาน ปัคทาคอร์
รายงาน
สนามกีฬาระชิด, ดูไบ (สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์)[note 4]
ผู้ชม: 1,208 คน
ผู้ตัดสิน: Qasim Al Hatmi (โอมาน)


อัรร็อยยาน ประเทศกาตาร์1–1ประเทศอิหร่าน เปร์เซโปลิส
รายงาน


นัดที่ 6
[แก้]
เปร์เซโปลิส ประเทศอิหร่าน2–1ประเทศอิรัก อัชชัรเฏาะฮ์
รายงาน อะลี ประตู 19'
ผู้ชม: 530 คน
ผู้ตัดสิน: คิม แด-ย็อง (เกาหลีใต้)


อัลวัศล์ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์1–1ประเทศกาตาร์ อัรร็อยยาน
ไคอู ประตู 77' รายงาน อาล-อาซีซี ประตู 85' (เข้าประตูตัวเอง)

อันนัศร์ ประเทศซาอุดีอาระเบีย1–2ประเทศกาตาร์ อัสซัดด์
ซาอิสส์ ประตู 80' (เข้าประตูตัวเอง) รายงาน
ผู้ชม: 13,091 คน
ผู้ตัดสิน: ยูซูเกะ อารากิ (ญี่ปุ่น)

ปัคทาคอร์ ประเทศอุซเบกิสถาน1–1สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ อัลไอน์
รายงาน
ผู้ชม: 1,511 คน
ผู้ตัดสิน: อะห์หมัด อาล อะลี (คูเวต)

นัดที่ 7
[แก้]
อัลไอน์ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์1–2ประเทศกาตาร์ อัรร็อยยาน
กากู ประตู 42' รายงาน
ผู้ชม: 6,326 คน
ผู้ตัดสิน: คาลิด ซาเลห์ อาล-ตูราอิส (ซาอุดีอาระเบีย)

เอสเตห์กัล ประเทศอิหร่าน1–1ประเทศอิรัก อัชชัรเฏาะฮ์
รายงาน
ผู้ชม: 54,873 คน
ผู้ตัดสิน: ยูซูเกะ อารากิ (ญี่ปุ่น)

อัสซัดด์ ประเทศกาตาร์1–3ประเทศซาอุดีอาระเบีย อัลอะฮ์ลี
รายงาน
ผู้ชม: 9,335 คน
ผู้ตัดสิน: อาเดล อะลี อะห์เหม็ด คามิส อัล นัคบี (สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์)


นัดที่ 8
[แก้]


เปร์เซโปลิส ประเทศอิหร่าน0–0ประเทศซาอุดีอาระเบีย อันนัศร์
รายงาน
ผู้ชม: 70,350 คน
ผู้ตัดสิน: รุสตัม ลุตฟุลลิน (อุซเบกิสถาน)


อัรร็อยยาน ประเทศกาตาร์0–2ประเทศอิหร่าน เอสเตห์กัล
รายงาน

อัลวัศล์ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์0–2ประเทศซาอุดีอาระเบีย อัลฮิลาล
รายงาน
ผู้ตัดสิน: อะห์หมัด อาล-อะลี (คูเวต)

โซนตะวันออก

[แก้]

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1 ประเทศญี่ปุ่น โยโกฮามะ เอ็ฟ มารินอส 7 6 0 1 21 7 +14 18 ผ่านเข้าสู่ รอบ 16 ทีมสุดท้าย
2 ประเทศญี่ปุ่น คาวาซากิ ฟรอนตาเล 7 5 0 2 13 4 +9 15
3 ประเทศมาเลเซีย โจโฮร์ดารุลตักซิม 7 4 2 1 16 8 +8 14
4 ประเทศเกาหลีใต้ ควังจู 7 4 2 1 15 9 +6 14
5 ประเทศญี่ปุ่น วิสเซล โคเบะ 7 4 1 2 14 9 +5 13
6 ประเทศไทย บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด 8 3 3 2 7 12 −5 12
7 ประเทศจีน เซี่ยงไฮ้เซินหัว 8 3 1 4 13 12 +1 10
8 ประเทศจีน เซี่ยงไฮ้พอร์ต 8 2 2 4 10 18 −8 8
9 ประเทศเกาหลีใต้ โพฮัง สตีลเลอส์ 7 2 0 5 9 17 −8 6
10 ประเทศเกาหลีใต้ อุลซันฮุนได 7 1 0 6 4 16 −12 3
11 ประเทศออสเตรเลีย เซ็นทรัล โคสต์ มารีเนอร์ส 7 0 1 6 8 18 −10 1
12 ประเทศจีน ชานตงไท่ชาน 0 0 0 0 0 0 0 0 ถอนทีม[a]
แหล่งข้อมูล: สมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย
กฏการจัดอันดับ: 1) คะแนน; 2) ผลต่างประตู; 3) จำนวนประตูที่ทำได้; 4) จำนวนนัดที่ชนะ; 5) ดวลลูกโทษชี้ขาดถ้าสองทีมที่เหลือเท่านั้นมีผลเสมอและลงเล่นพบกับทีมอื่นในแมตช์เดย์สุดท้าย แมตช์เดย์ที่ 6) อันดับแฟร์เพลย์; 7) จำนวนเสมอ
หมายเหตุ:
  1. ชานตงไต่ชาน ถือว่าถอนทีมออกจากเอเอฟซีแชมเปียนส์ลีกอีลิท หลังสโมสรยืนยันว่าไม่มีความตั้งใจที่จะรายงานตัวเพื่อเข้าร่วมการแข่งขันในรอบลีกที่พบกับอุลซันฮุนได เมื่อวันที่ 19 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2025[8]

สรุปผลการแข่งขัน

[แก้]

แมตช์

[แก้]
นัดที่ 1
[แก้]





นัดที่ 2
[แก้]





นัดที่ 3
[แก้]
ควังจู ประเทศเกาหลีใต้3–1ประเทศมาเลเซีย โจโฮร์ดารุลตักซิม
รายงาน
ผู้ชม: 2,101 คน
ผู้ตัดสิน: Salman Ahmad Falahi (กาตาร์)





นัดที่ 4
[แก้]





นัดที่ 5
[แก้]
วิสเซล โคเบะ ประเทศญี่ปุ่น3–2ประเทศออสเตรเลีย เซ็นทรัล โคสต์ มารีเนอร์ส
รายงาน


ชานตงไท่ชาน ประเทศจีนเป็นโมฆะ
(1–0)
ประเทศมาเลเซีย โจโฮร์ดารุลตักซิม
รายงาน


ควังจู ประเทศเกาหลีใต้1–0ประเทศจีน เซี่ยงไฮ้เซินหัว
รายงาน
ผู้ชม: 3,379 คน
ผู้ตัดสิน: Ahmad Al-Ali (จอร์แดน)

นัดที่ 6
[แก้]





นัดที่ 7
[แก้]



ชานตงไท่ชาน ประเทศจีนเป็นโมฆะ
(3–1)
ประเทศเกาหลีใต้ ควังจู
รายงาน


บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด ประเทศไทย2–1ประเทศเกาหลีใต้ อุลซันฮุนได
รายงาน
  • จัง ซี-ยัง ประตู 45+1'
นัดที่ 8
[แก้]
ควังจู ประเทศเกาหลีใต้2–2ประเทศไทย บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด
รายงาน
ผู้ชม: 2,688 คน
ผู้ตัดสิน: ซัลมาน อะห์หมัด ฟาลาฮี (กาตาร์)





เซี่ยงไฮ้พอร์ต ประเทศจีน0–2ประเทศญี่ปุ่น โยโกฮามะ เอ็ฟ มารินอส
รายงาน
ผู้ชม: 12,398 คน
ผู้ตัดสิน: ฮันนา ฮัททับ (ซีเรีย)

หมายเหตุ

[แก้]
  1. 1.0 1.1 1.2 1.3 อัชชัรเฏาะฮ์ ลงเล่นแมตช์เหย้าของพวกเขาที่ สนามกีฬานานาชาติอาล-มาดินา, แบกแดด, และ สนามกีฬานานาชาติคาร์บาลา, คาร์บาลา, แทนที่สนามกีฬาเหย้าปกติประจำของพวกเขา สนามกีฬาอาล-ชะอับ, แบกแดด.
  2. 2.0 2.1 2.2 2.3 ปัคทาคอร์ ลงเล่นแมตช์เหย้าของพวกเขาที่ สนามกีฬาเจเออาร์, ทาชเคนต์, แทนที่สนามกีฬาเหย้าปกติประจำของพวกเขา สนามกีฬากลางปัคทาคอร์, ทาชเคนต์.
  3. 3.0 3.1 3.2 อัลฆ็อรรอฟะฮ์ ลงเล่นแมตช์เหย้าของพวกเขาที่ สนามกีฬาอัลบัยต์, อัล คอร์, แทนที่สนามกีฬาเหย้าปกติประจำของพวกเขา เทาะนีบินจัสซิมสเตเดียม, อัรร็อยยาน.
  4. 4.0 4.1 4.2 4.3 สโมสรจากอิหร่านคือจำเป็นที่จะต้องลงเล่นนัดเหย้าที่สนามกลางเนื่องจากปัญหาด้านความปลอดภัยที่เกี่ยวข้องกับ การโจมตีของอิสราเอลต่ออิหร่านในเดือนตุลาคม ค.ศ. 2024.
  5. ควังจู ลงเล่นแมตช์เหย้าของพวกเขาที่ สนามกีฬายงอินมิเรอู, ยงอิน, แทนที่สนามกีฬาเหย้าปกติประจำของพวกเขา ควังจูเวิลด์คัพสเตเดียม หรือ สนามกีฬาฟุตบอลควังจู, ควังจู.
  6. อุลซันฮุนได จะลงเล่นแมตช์เหย้าของพวกเขาที่ สนามกีฬาอุลซัน, อุลซัน, แทนที่สนามกีฬาเหย้าปกติประจำของพวกเขา อุลซันมุนซูฟุตบอลสเตเดียม, อุลซัน.
  7. นัดการแข่งขันถูกยกเลิก เมื่อชานตงไท่ชานไม่ได้รายงานตัวเพื่อเข้าร่วมการแข่งขัน[8]

อ้างอิง

[แก้]
  1. "AFC Competitions Calendar (Jul 2024 - Jun 2025)" (PDF). the-AFC.com. Asian Football Confederation. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2024-08-17. สืบค้นเมื่อ 2024-08-07.
  2. 2.0 2.1 "#ACLElite League Stage hopefuls learn opponents". Asian Football Confederation. 20 August 2024. สืบค้นเมื่อ 17 August 2024.
  3. "Live: AFC Champions League Elite™ 2024/25 League Stage Draw" (video). Asian Football Confederation. 16 August 2024. สืบค้นเมื่อ 20 August 2024 – โดยทาง YouTube.
  4. "AFC Competitions Committee approves key decisions on reformatted competitions". AFC. 1 July 2023.
  5. "2024–25 AFC Champions League Elite League Stage Draw Results & Match Schedule" (PDF). Asian Football Confederation. 16 August 2024. สืบค้นเมื่อ 17 August 2024.
  6. "2024–25 AFC Champions League Elite League Stage Pairings" (PDF). Asian Football Confederation. 16 August 2024. สืบค้นเมื่อ 17 August 2024.
  7. "AFC confirms Dubai as venue for Al Nassr upcoming match against Esteghlal". Saudi Gazette (ภาษาอังกฤษ). 2024-10-15. สืบค้นเมื่อ 2024-10-23.
  8. 8.0 8.1 "Latest update on AFC Champions League Elite™". Asian Football Confederation. 19 February 2025.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]